DSpace Repository

การออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคลของพุทธสถานจีน ในเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ และเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์
dc.contributor.author ยุวภรณ์ พฤฒิชัย
dc.contributor.author วนัชพร พจน์ชพรกุล
dc.contributor.author ฐิติรัตน์ สายพวงแก้ว
dc.contributor.author นลินี เตียเอกลาภ
dc.contributor.author วราพร มหาคุณากร
dc.contributor.author ชลชญา ว่องเจริญ
dc.contributor.author ธนพงษ์ ดีอ้อม
dc.contributor.author ปัญญาพร จันทโสก
dc.date.accessioned 2023-06-02T09:18:58Z
dc.date.available 2023-06-02T09:18:58Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28395
dc.description.abstract This research has a purpose to survey on components of tourism attraction, tourism resources in a field of Chinese-Buddhism monasteries, as well as exploration on tourism’s demands. Including, to program a design for auspicious tourism routes of Chinese Buddhist monasteries in these districts, Pra Nakorn, Samphantawong, and lastly, Pomprapsathupai. By using Qualitative research on Chinese-Buddhism monasteries. The principles assisted to this research are adapted from Resource Audit, Valuation of Cultural Heritage, Principle of Tourist Attraction and In-depth Interview from personal involved with Chinese-Buddhism, in total of 30 peoples. In addition, with quantitative research by letting Thai tourist who aged above 18 years old take satisfaction questionnaire in the branches of interests, accessibilities, services, and activities. There are 385 peoples participated in this section. The results of the research have found satisfy reflection toward overall Chinese-Buddhism monasteries. Including, attractiveness, accessibility to the tourist attractions which are at “high satisfaction level”, and the sum of the questionnaires on tourist’s demand toward Chinese-Buddhism monasteries showed that the monastery which tourist wanted to visit most has an percentage of 29.6 , The researchers have to select the most satisfied and desired locations to be visited from tourist down into five levels. Therefore, this research design the path by considering two factors, demand and behavioral of the tourist. Auspicious Tourism Routes of Chinese Buddhist monasteries ,such as Guan Yin Shrine, Guan Yu Shrine, Tai Hong Gong Shrine, Wat Mangkon Kamalawat, San Chao Por Sua, Por Teck Tung Foundation, Tian Fa Foundation. The second path is to response to tourist’s traveling demand. Representing Guan Yin Shrine, Lao Phun Tao Gong Shrine, Tai Hong Gong Shrine, Por Teck Tung Foundation, Tian Fa Foundation, Wat Mangkon Kamalawat, and Wat Thip Wari Wihan. The participated researchers have considered that in order to design a greater Fortune Travel Tourism; facilitation, public relations, and interpretation are required from both the government and the Chinese Buddhist organizations to develop a sufficient performance for those locations to become an appropriate tourism landmark.
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject พุทธสถานจีน
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตวิญญาณ
dc.subject เส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคล
dc.subject ความเชื่อ
dc.subject พิธีกรรมในพุทธสถานจีน
dc.subject Chinese Buddhist monasteries
dc.subject Spiritual Tourism
dc.subject Auspicious Tourism Route
dc.subject Believe
dc.subject Religious ceremony
dc.subject Chinese temple
dc.title การออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคลของพุทธสถานจีน ในเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ และเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
dc.title.alternative Program design for auspicious tourism routes of chinese buddhist monasteries in phra nakhon district Samphanthawong district and Pomprabsattrupai district
dc.type Working Paper
dc.description.abstractthai การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว ทรัพยากร ท่องเที่ยว และมรดกทางวัฒนธรรมของพุทธสถานจีน รวมถึงสำรวจความต้องการของนักท่องเที่ยว เพื่อจัดทำเส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคลของพุทธสถานจีนในเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ และเขต ป้อมปราบศัตรูพ่าย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสารวจทรัพยากรของพุทธสถานจีน โดย ประยุกต์ใช้แบบสำรวจทรัพยากรท่องเที่ยว (Resource Audit) การประเมินคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม และองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งหมด 30 คน การวิจัยเชิงปริมาณ โดยการสำรวจความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในด้านสิ่งดึงดูดใจ ด้านการเข้าถึง ด้านสิ่ง อำนวยความสะดวก และด้านการบริการและกิจกรรม ผลการวิจัยพบว่า พุทธสถานจีนในเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ และเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มี ผลรวมของระดับความพึงพอใจต่อพุทธสถานจีน ทั้งด้านสิ่งดึงดูดใจ ด้านการเข้าถึง ด้านสิ่งอำนวย ความสะดวก และด้านการบริการและกิจกรรม อยู่ในระดับ “พึงพอใจมาก” และผลรวมของ แบบสอบถามความต้องการของนักท่องเที่ยวต่อพุทธสถานจีน พบว่าพุทธสถานจีนที่นักท่องเที่ยว ต้องการเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.03 โดยเลือกพุทธสถานจีนที่ได้รับความพึง พอใจและความต้องการจากนักท่องเที่ยวมากที่สุด 5 อันดับ มาจัดทำเป็นเส้นทาง การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงได้มีการจัดทำเส้นทาง โดยคำนึงถึงพฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยว และได้ผลเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคลในพุทธสถานจีน ได้แก่ ศาลเจ้าแม่กวนอิม มูลนิธิเทียนฟ้า ศาลเจ้าเล่าปุนเถ้ากง ศาลเจ้ากวนอู วัดมังกรกมลาวาส ศาลเจ้าไต้ฮงกง มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง วัดทิพย์วารีวิหารและศาลเจ้าพ่อเสือ ผู้วิจัยมีความเห็นว่าการออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวเสริมสิริมงคลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควรได้รับการร่วมมือทั้งจากภาครัฐและพุทธสถานจีนในการพัฒนาพุทธสถานจีนให้มีศักยภาพเพียงพอสำหรับการเป็นแหล่งท่องเที่ยว เช่น ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก การประชาสัมพันธ์ และการสื่อความหมาย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics