DSpace Repository

การศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยว ในเทวสถานพราหมณ์-ฮินดู เขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author เนตรดาว สุขประสงค์
dc.contributor.author ปองปภัส สุริเย
dc.contributor.author ชมพูนุท ภาณุภาส
dc.date.accessioned 2023-06-02T02:48:36Z
dc.date.available 2023-06-02T02:48:36Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28386
dc.description รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 “วิทยาการจัดการเทพสตรีวิชาการ” Proceedings of the 8th National Academic Conference “Thepsatri Management Science Academic Conference” วันที่ 30 พฤษภาคม 2566
dc.description.abstract This study is quantitative. The purpose is to study the needs of Thai tourists to travel to the Brahmin-Hindu Dhevasathan, Bangkok. Suggestions are also made for the development of Brahmin Hinduism. The tourism element theory (5A) is used in the selection of research areas. Wat Phra Sri Maha Mariamman Temple (Wat Khaek, Silom), Ganesha Shrine (Huai Khwang), and Vishnu Temple. The research tool was a questionnaire. Collecting questionnaires from 387 Thai tourists. By Cochran Sampling Techniques with Accidental Sampling Techniques, using quota sampling at three locations, with 129 people per location. The Examination of content validity was 0.71 and Reliability Utilized Cronbach's alpha coefficient was 0.92. Use a cross-tabulation to data analyse. The results show that most of the respondents were female, aged between 21 - 30 years old, with a bachelor's degree, occupation in company employees. The average monthly income was 20,001–25,000 baht. Transportation needs are the highest level. There are various types of vehicles that are easy to enter Brahmin-Hindu Dhevasathan, Bangkok and the suggestions should be made to focus on more effective space management services. Develop infrastructure and public transportation to make it more convenient. Provide personnel with knowledge and information of religious tourism for Thai and foreigner tourists.
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject การท่องเที่ยว
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงศาสนา
dc.subject ความต้องการของนักท่องเที่ยว
dc.subject เทวสถานพราหมณ์-ฮินดู
dc.subject Tourism
dc.subject Religious Tourism
dc.subject Needs of tourists
dc.subject Brahmin-Hindu Dhevasathan
dc.title การศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยว ในเทวสถานพราหมณ์-ฮินดู เขตกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative The Study of needs of Thai tourists visiting Brahmin-Hindu Dhevasathan, Bangkok
dc.type Working Paper
dc.description.abstractthai งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทาง มาท่องเที่ยวในเทวสถานพราหมณ์-ฮินดู เขตกรุงเทพมหานคร และเพื่อเสนอข้อเสนอแนะในการพัฒนาเทวสถานพราหมณ์-ฮินดู การคัดเลือกพื้นที่การวิจัยใช้ทฤษฎีองค์ประกอบด้านการท่องเที่ยว (5A’s) ได้แก่ วัดพระศรีมหาอุมาเทวี (วัดแขก สีลม) เทวาลัยพระพิฆเนศ (ห้วยขวาง) และวัดวิษณุ เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มหลายขั้นตอน (Multiple-Stage Random Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกผ่านการคำนวณสูตรของคอแครน (Cochran, 1977) ได้จำนวน 387 คน และใช้วิธีการสุ่มแบบโควตา (Quota Sampling) ใน 3 สถานที่ ที่ละ 129 คน ค่าความตรงเชิงเนื้อหาได้ค่าเท่ากับ 0.71 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าเท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ตารางแจกแจงความถี่แบบสองทาง (Cross Tabulation) ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน รายได้ต่อเดือน 20,001-25,000 บาท ความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทย พบว่า ความต้องการด้านการเข้าถึงมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด โดยให้มีระบบขนส่งสาธารณะที่เชื่อมโยงเส้นทางยานพาหนะที่หลากหลายและเข้าถึงเทวสถานได้ง่าย และการเสนอข้อเสนอแนะ ควรให้ความสำคัญในการบริการจัดการพื้นที่ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้สามารถเข้าถึง ได้สะดวกมากขึ้น พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องเชิงศาสนาที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ให้แก่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics