dc.contributor.author |
เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-19T09:14:16Z |
|
dc.date.available |
2023-05-19T09:14:16Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28376 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10 |
|
dc.description.abstract |
This research aims at studying attitudes of youths towards same-sex marriage and finding reasons
why they support or oppose same-sex marriage law in order to have legislative know important
information for issuing the law. This research employs mix-methods; quantitative method collected data
from 453 Srinakarintarawirot students of all sexes and genders by online surveys. Qualitative method
collected data by interviewing 15 students. LGBT interviewees were collected by purposive sampling and
male and female interviewees were collected by accidental sampling. The results found that most of the sample group highly agreed on legalizing same-sex marriage in
Thailand. They agreed that all human being whatever sex should have an equal right. Denial of the
recognition of same-sex marriage law is a denial of their fundamental human rights. Moreover, they also
think that if the law is passed, the legislative should issue Same-sex Marriage Bill more than Civil
Partnership Bill for the reason that it grants more rights and benefits of marriage as similar as the
heterosexual couple. They also suggested that legislative should not only issue related laws, but should
also prescribe portion of members of parliament for LGBT so that they can be an MP in order to help
support law for their groups. Government should cooperate with NGOs or LGBT associations to help LGBT
and cooperate with media in creating campaigns so that people will understand them more. |
|
dc.subject |
การจดทะเบียนคู่ชีวิต |
|
dc.subject |
การสมรสเพศเดียวกัน |
|
dc.subject |
ความหลากหลายทางเพศ |
|
dc.subject |
Civil Partnership Bill |
|
dc.subject |
Same-sex Marriage |
|
dc.subject |
LGBT |
|
dc.title |
การศึกษาทัศนคติของเยาวชนที่มีต่อการสมรสเพศเดียวกัน |
|
dc.title.alternative |
The Study of Youth Attitudes towards Same-sex Marriage |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่มีต่อการสมรสโดยถูกต้องตาม
กฎหมายของกลุ่มคนรักเพศเดียวกัน และเพื่อหาเหตุผลของการสนับสนุนหรือคัดค้านการออกกฎหมายการสมรสเพศเดียวกัน
ดังกล่าว เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูลที่จาเป็นในการผลักดันร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตให้ผ่านและ
ประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ โดยเป็นการวิจัยเชิงบูรณาการ คือ แบบผสมผสาน (Mix Method Research) เชิงปริมาณได้เก็บ
รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทุกชั้นปีและทุกเพศจากการสุ่มอย่างง่ายจานวน 453 คน โดยการตอบแบบสอบถามออนไลน์
และเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นิสิตทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยเพศชาย เพศหญิง และเพศทางเลือก คละเคล้ากันไปทุกชั้นปี
โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศทางเลือกนั้น ผู้วิจัยคัดเลือกด้วยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) และสำหรับ
กลุ่มตัวอย่างเพศชายและเพศหญิง ผู้วิจัยคัดเลือกโดยการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จำนวนทั้งหมด 15 คน
ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับการที่จะให้มีกฎหมายรับรองการใช้ชีวิตคู่โดยถูกต้องตาม
กฎหมายของคู่รักเพศเดียวกันในประเทศไทย โดยให้เหตุผลว่าคนทุกคนไม่ว่าเพศใดก็ตามควรมีสิทธิเท่าเทียมกัน หากไม่มี
กฎหมายรับรองสถานะการใช้ชีวิตคู่ของคู่รักเพศเดียวกันแล้วจะเป็นการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ และยังเห็นว่าหากจะ
มีกฎหมายใดเพื่อออกมารับรองสิทธิแล้ว ควรจะเป็นกฎหมายเพื่อให้จดทะเบียนสมรสกันมากกว่าที่จะจดทะเบียนคู่ชีวิต
เนื่องจากจะทาให้ได้สิทธิและประโยชน์เท่ากับคู่สมรสชายหญิง นอกจากนี้ในงานวิจัยยังมีข้อเสนอแนะว่ารัฐบาลควรมีมาตรการ
เพื่อช่วยเหลือการใช้ชีวิตคู่ของคู่รักเพศเดียวกัน เช่น รัฐบาลควรเร่งรีบเสนอกฎหมายเพื่อให้ผ่านความเห็นชอบของฝ่ายนิติ
บัญญัติในการออกกฎหมายเพื่อรับรองสิทธิในการอยู่กินร่วมกันได้ หรือควรกำหนดสัดส่วนที่นั่งในสภาให้คนที่มีความ
หลากหลายทางเพศได้เข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อผลักดันกฎหมายให้กับคนกลุ่มนี้ และรัฐควรร่วมมือกับองค์กร
พัฒนาเอกชน (NGOs) หรือองค์กรและมูลนิธิที่ทางานรณรงค์สิทธิของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ และสื่อมวลชนในการ
รณรงค์ให้มีการนำเสนอภาพลักษณ์ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทางสร้างสรรค์เพื่อให้ประชาชนเข้าใจความรู้สึก
นึกคิดและสิทธิของคนกลุ่มนี้ |
|