DSpace Repository

การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมอพื้นบ้านในการรักษากระดูกหัก : กรณีศึกษา หมอสัมฤทธิ์ จำแนกวุฒิ อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Show simple item record

dc.contributor.author ชโลธร บุญธิมา
dc.contributor.author หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์
dc.date.accessioned 2023-05-19T09:14:16Z
dc.date.available 2023-05-19T09:14:16Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28372
dc.description รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10
dc.description.abstract The research aims to study the body of knowledge of a Folk healer and risk factors for the loss and persistence of local wisdom for fracture treatment. This is the qualitative research.by employing, the Participative Observation and In-dept Interview. The key informants include one folk healer, four Fracture patients and one Representative from Department of Cultural Promotion, by Purposive sampling method and Case-by-case sampling method. The results find that, the fracture treatment of folk healer is a combination of natural science and scientific science. This is the very identity of the treatment of fractures by folk healer. Therefore, the treatment process can be classified into 2 types: ritual and knowledge used in the treatment. The most common risk factor for loss is the absence of inheritance of both children and blood kin. Even those who are interested in learning cannot fully devote time to learn. Therefore, the persistence of wisdom depends on the cooperation of agencies and people who are involved with it.
dc.subject ภูมิปัญญาท้องถิ่น
dc.subject Local wisdom
dc.subject Broken bones
dc.subject Folk healer
dc.subject กระดูกหัก
dc.subject หมอพื้นบ้าน
dc.subject การรักษา
dc.title การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมอพื้นบ้านในการรักษากระดูกหัก : กรณีศึกษา หมอสัมฤทธิ์ จำแนกวุฒิ อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
dc.title.alternative A Study of Local Wisdom of Local Healers for the Treatment of Fractures. A Case study: Sumrit Jamneangwut, Uthai, Phra Nakhon Si Ayutthaya
dc.type Article
dc.description.abstractthai การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้การรักษากระดูกหักของหมอพื้นบ้าน และปัจจัยเสี่ยงต่อการสูญหาย และความคงอยู่ของภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมอพื้นบ้านในการรักษากระดูกหัก โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการ การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ หมอพื้นบ้านที่รักษากระดูกหัก ผู้ที่เข้า รับการรักษากระดูกหัก จำนวน 4 คน และ ผู้แทนในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 1 คน ซึ่งสุ่มกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบ เจาะจงและแบบรายกรณี ผลการวิจัย พบว่า องค์ความรู้การรักษากระดูกหักของหมอพื้นบ้านเป็นการรักษาแบบผสมผสานระหว่างศาสตร์ทาง ธรรมชาติและศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งจะเป็นอัตลักษณ์อย่างยิ่งของการรักษากระดูกหักโดยหมอพื้นบ้าน ประกอบด้วย พิธีกรรมและวิธีการรักษากระดูกหัก ในส่วนปัจจัยเสี่ยงต่อการสูญหายได้มากที่สุด คือ การที่ไม่มีการสืบทอดทั้งบุตรและเครือ ญาติในสายเลือด รวมไปถึงบุคคลที่มีความสนใจที่จะเรียนรู้ก็ไม่สามารถให้เวลาการทุ่มเทในการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น การ คงอยู่ของภูมิปัญญาจึงต้องขึ้นอยู่กับความร่วมมือทางหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics