dc.contributor.author |
พิมพ์ลภัส จันทรสุข |
|
dc.contributor.author |
พรพรรณ โปร่งจิตร |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-19T09:12:43Z |
|
dc.date.available |
2023-05-19T09:12:43Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28370 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10 |
|
dc.description.abstract |
This article is a part of a research, Patriarchy and female contraception 1970 -2017 B.E. The
objectives of this study are to analyze the relationship between the male-dominated discourse and
female contraception, as well as the impact of the male-dominated discourse in Thai society on female
contraception. This article would like to explain the causes and affects of Male sterilization was
unexceptable in thai society as much as the Female sterilization. Furthermore, what impact from the
unpopularity of male sterilization have on the female contraception? And how does it related to the
patriarchy. This article studies by using contemporary publishes about family planning policies and also
researches.
The study discovered the causes why male sterilization in the family planning policy is unpopular.
First factors is social environment, as well as the communication of information in such a way that viral
misinformation in male sterilization, such as loss of masculinity, impotence, etc. |
|
dc.subject |
การทำหมันชาย |
|
dc.subject |
วางแผนครอบครัว |
|
dc.subject |
นโยบาย |
|
dc.subject |
Male sterilization |
|
dc.subject |
Family planning |
|
dc.subject |
Unpopularity |
|
dc.title |
ความไม่นิยมในการทำหมันชายที่ปรากฏให้เห็นในนโยบายวางแผนครอบครัว |
|
dc.title.alternative |
The Unpopularity of Male Sterilization in the Family Planning Policy |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องสังคมชายเป็นใหญ่กับการคุมกำเนิดในเ พศหญิง พ.ศ. 2513-2560
โดยมีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคมชายเป็นใหญ่กับการคุมกำเนิดของเพศหญิง และ
2) เพื่อศึกษาถึงผลกระทบจากสังคมชายเป็นใหญ่ในสังคมไทยที่ส่งผลต่อการคุมกำเนิดในเพศหญิง โดยบทความนี้จะศึกษาถึง
ความไม่นิยมในการทำหมันชายที่ปรากฏในนโยบายวางแผนครอบครัว เพราะเหตุใดผู้ชายถึงไม่นิยมการทำหมันเช่นเดียวกับ
ผู้หญิง นอกจากนั้นจากความไม่นิยมดังกล่าวยังได้ส่งผลกระทบอย่างไรบ้างในเรื่องของการคุมกำเนิดในเพศหญิง และมีความ
เกี่ยวเนื่องอย่างไรในประเด็นของสังคมชายเป็นใหญ่ โดยทำการศึกษาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ร่วมสมัยอย่างหนังสือพิมพ์ฉบับต่าง ๆ
ที่ได้ตีพิมพ์ข้อมูลข่าวเกี่ยวกับนโยบายวางแผนครอบครัวที่ได้ปรากฏเรื่องของการทำหมันชาย รวมไปถึงงานวิจัยที่มีเนื้อหา
เกี่ยวข้อง โดยนำมาอธิบายและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษาเพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริงดังกล่าว
จากการศึกษาพบว่าความไม่นิยมในการทำหมันชายที่ได้ปรากฏในนโยบายวางแผนครอบครัวมีปัจจัยมาจากปัจจัย
ทางสังคม และยังรวมไปถึงปัจจัยทางด้านการสื่อสารในเรื่องของการเผยแพร่ข้อมูลในลักษณะปากต่อปากจนเกิดความเข้าใจ
ผิดในการทำหมันชาย เช่น สูญเสียความเป็นชาย ไร้สมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น |
|