DSpace Repository

แนวโน้มการศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม ร่วมกับวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Show simple item record

dc.contributor.author ปุณยนุช เรือนโนวา
dc.date.accessioned 2023-05-19T09:11:07Z
dc.date.available 2023-05-19T09:11:07Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28362
dc.description รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10
dc.description.abstract This research aimed to study the trends of studying in the Bachelor of Business Administration Program (International Program) of the Faculty of Business Administration for Society cooperating with the College of Social Communication Innovation, Srinakharinwirot University. The research samples were 400 students in the secondary school at Grade 12 level by using a questionnaire as a tool for collecting data. The statistics used in analyzing data included frequency, percentage, mean score, standard deviation and the measure of correlation using the Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient. The results of the research revealed that most respondents were female with GPA between 3.01- 3.50, majoring in Language – Arts program, and the family monthly income was less than or equal to 40,000 baht. The results of the hypothesis testing were found that the factors of the marketing mix on distribution and process related to the trends of study in the Bachelor of Business Administration Program (International Program) at statistically significant levels of .01 with a high-level and positive correlation. In addition, the factors of the marketing mix on product, price, people and employee, and physical evidence related to the trends of study in the bachelor of business administration program (International Program) at statistically significant levels of .01 and .05 respectively, with a low-level and positive correlation.
dc.subject ส่วนประสมทางการตลาด
dc.subject การศึกษาต่อ
dc.subject ธุรกิจดิจิทัล
dc.subject marketing mix
dc.subject trends of studying
dc.subject marketing mix
dc.subject trends of studying
dc.subject digital business management
dc.title แนวโน้มการศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม ร่วมกับวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.title.alternative Trends of Studying in the Bachelor of Business Administration Program in Digital Business Management (International Program) of the Faculty of Business Administration for Society in Collaboration with the College of Social Communication Innovation, Srinakharinwirot University
dc.type Article
dc.description.abstractthai การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวโน้มการศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม ร่วมกับวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ใช้สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีเกรดเฉลี่ยสะสมระหว่าง 3.01-3.50 แผนการเรียน เป็นศิลป์-ภาษา และมีรายได้เฉลี่ยของครอบครัวต่อเดือนต่ำกว่าหรือเท่ากับ 40,000 บาท ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการจัดจำหน่าย และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการศึกษาต่อหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมี ความสัมพันธ์กันในระดับสูง และเป็นความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านบุคลากรหรือพนักงาน และด้านลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการศึกษาต่อหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ตามลำดับ โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ และเป็นความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics