DSpace Repository

ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ในวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Show simple item record

dc.contributor.author นนทรี พรมมี
dc.date.accessioned 2023-03-07T03:14:58Z
dc.date.available 2023-03-07T03:14:58Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28019
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ สาธิตประสานมิตรวิจัย ครั้งที่ 1 (SPSM CONFERENCE 2021) “วิจัยและนวัตกรรมการศึกษาภายใต้ความปกติวิถีใหม่”
dc.description.abstract This research is intended to explore the results of the use of a mentoring professional development model for developing the ability of learning management of pre-service teachers. The objectives of the study were: 1) to investigate learning ability of pre-service teachers to enhance students’ critical thinking ability 2) to compare students' critical thinking ability in social studies before and after class. 3) to explore the satisfaction of pre-service teachers using Mentoring professional development model 4) to find out the opinions of students towards the learning management of pre-service teachers The subject of this research were one Social Studies pre-service teacher who practiced teaching and vocational experience in Social Studies and fifty-two Mathayomsuksa 1 students at Srinakharinwirot University Prasarnmit Demonstration School (Secondary) Semester 1 Academic year 2015. The sample group was randomly selected. The research instruments are as follows: 1) Professional Development Model (AT_PSM Mentoring Model - 4A Model) 2) A measurement form of understanding of students to practice pre-service teachers in learning management that promotes critical thinking ability 3) learning management lesson plans 4) Assessment form for the ability of learning management of pre-service teachers 5 ) The satisfaction questionnaire of pre-service teachers towards the use of a counseling professional development model 6) A questionnaire for students' opinions about the learning management of pre-service teachers. Data was analyzed using mean (X ) Standard deviation (S.D) and mean difference test (t-test dependent) and summarized through content analysis and qualitative data was used by journal writing. The result of this study indicated that: 1. Learning management ability of pre-service teachers that enhance students’ critical thinking ability is higher than before using the Mentoring professional development model 2. Students’ s critical thinking ability in social studies subjects is higher than before using the Mentoring professional development model that showed a statistical significant difference at .01 level. 3. Students were satisfied with the Mentoring professional development model at a high level (X =3.94, S.D=.38) 4. Students were satisfied with the learning management of pre-service teachers that enhance critical thinking at the highest level (X=4.55, S.D=.05)
dc.language th
dc.publisher โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
dc.subject การพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา
dc.subject การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
dc.subject Mentoring Professional Development Model
dc.subject professional teaching experience
dc.title ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ในวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
dc.title.alternative THE EFFECT OF “AT PSM MENTORING” MODEL FOR ENHANCING COMPETENCY IN TEACHING FOR PRE-SERVICE TEACHERS TO PROMOTE ANALYTICAL THINKING IN SOCIAL STUDIES OF MATHAYOMSUKSA 1 STUDENTS
dc.type Proceeding
dc.description.abstractthai การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาทางวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) ผลการวิจัย พบว่า 1. หลังการใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการ เรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ส่งผลให้นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มีความ สามารถในการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ 2. หลังการใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการ เรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในวิชาสังคมศึกษาสูงกว่า ก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. โดยภาพรวมนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพแบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X=3.94, S.D=.38) 4. โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมการ คิดวิเคราะห์อยู่ในระดับมากที่สุด ( X=4.55, S.D=.05) เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนดังนี้ 1) ศึกษาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่ส่งเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน 3) ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่มีต่อการใช้รูปแบบการพัฒนา วิชาชีพ แบบดูแลให้คำปรึกษา (Mentoring) และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของนิสิต ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสาขาสังคมศึกษา จำนวน 1 คน ที่ฝึกปฏิบัติการสอนและฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิชาสังคมศึกษา ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้องที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง และนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ที่เรียนรายวิชาสังคมศึกษา จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 52 คน ที่ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ (AT_PSM Mentoring Model - 4A Model ) แบบวัดความเข้าใจของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ แผนการจัดการ การเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการ จัดการเรียนรู้ ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่มีต่อการใช้รูปแบบ แบบประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยค่าที (t-test dependent) และประมวลสรุปด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาพรรณนาความ (Journal Writing)


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics