DSpace Repository

ความเสี่ยงทางการท่องเทียวของงานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท เขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ศรัญญา ศรีทอง th_TH
dc.contributor.author คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา th_TH
dc.contributor.author อุษณี วัชรไพศาลกุล th_TH
dc.contributor.author กฤติกา สายณะรัตร์ชัย th_TH
dc.date.accessioned 2023-02-02T09:41:16Z
dc.date.available 2023-02-02T09:41:16Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27863
dc.description The 4th BAs National Conference 2022 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที" 4 (ในความร่วมมือ 5 สถาบัน) th_TH
dc.description.abstract The objectives of this study were to analyze, assess, and present guidelines for handling tourism risks associated with the Khao Khitchakut Footprint Worship Tradition in Chanthaburi Province. To analyze and examine the tourism risks, there was using purposive sampling method to select 50 Thai tourists as key informants and collecting data by using semi - structure interview form. The results were summarized, evaluated, and interpreted using the COSO Enterprise Risk Management concept to get the risk level ratings. To present guidelines for handling tourism risks, there were 50 stakeholders including key, casual and general informants and collecting data by using semi - structure interview form as a tool to assessment and developed guidelines for responding to tourism risks. The research results founded that the Khao Khitchakut Footprint Worship Tradition's tourism risks in Chanthaburi Province can be divided into five areas: security risks, tourism image and utilities risks, public health risks, natural disaster risks, and investment risks. The greatest risk was from natural disasters, followed by hazards to public health and security were in high level, investments settled in moderate level. The lowest risks were from risks related to tourism image and public utilities. Guidelines for responding to tourism risks advise that in order to prevent and manage potential risks and create sustainability in tourism management, the government should foster participation of local stakeholders and the general public in planning and formulating policies that lead to acceptance and implementation of tourism management. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title ความเสี่ยงทางการท่องเทียวของงานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท เขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative TOURISM RISKS OF THE ANNUAL WORSHIP FESTIVAL OF THE KHAO KHITCHAKUT BUDDHA’S FOOTPRINT IN CHANTHABURI PROVINCE th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword ความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว th_TH
dc.subject.keyword งานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทเขาคิชฌกูฏ th_TH
dc.subject.keyword Tourism risks, Khao Khitchakut th_TH
dc.subject.keyword Footprint Worship Tradition th_TH
dc.description.abstractthai งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว และนําเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงทางการท่องเที่ยวของงานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ในการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว มีผู้ให้ข้อมูลสําคัญ คือ นักท่องเที่ยวชาวไทย จํานวน 50 คน ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนําข้อมูลที่ได้รับมาถอดความ วิเคราะห์ แปลความหมายค่าคะแนนระดับความเสี่ยงตามแนวคิดของ COSO Enterprise Risk Management สําหรับการนําเสนอแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว มีผู้ให้ข้อมูลสําคัญ คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว จํานวน 30 คน ได้แก่ ผู้รู้ ผู้ปฏิบัติ และผู้ใช้ข้อมูลทั่วไป ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบแบบร่างแนวทางการตอบสนองความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว ผลการวิจัยพบว่า ความเสี่ยงทางการท่องเที่ยวของงานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี สามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเด็น ได้แก่ ความเสี่ยงด้าน ความปลอดภัย ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์การท่องเที่ยวและสาธารณูปโภค ความเสี่ยงด้านสาธารณสุข ความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติ และความเสี่ยงด้านการลงทุน โดยความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติเป็นความเสี่ยงในระดับสูงมาก รองลงมา คือ ความเสี่ยงด้านสาธารณสุข และความเสี่ยงด้านความปลอดภัย เป็นความเสี่ยงในระดับสูง ความเสี่ยงด้านการลงทุนเป็นความเสี่ยงในระดับปานกลาง ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์การท่องเที่ยวและด้านสาธารณูปโภคเป็นความเสี่ยงใน ระดับตํ่า แนวทางการตอบสนองความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว พบว่า ควรสร้างความเข้าใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที"และประชาชนท้องถิ่นในการวางแผน กําหนดนโยบายที่นําไปสู่การยอมรับและปฏิบัติการจัดการท่องเที่ยวร่วมกันอย่างจริงจังเพื่อป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้และสร้างความยั่งยืน ในการบริหารจัดการท่องเที่ยว th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics