dc.contributor.advisor |
ศศิพิมล ประพินพงศกร |
th_TH |
dc.contributor.author |
นภัทร น้อยนารถ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ธนเทพ ปัญญาลานันท์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ปัญณิษา เสมอใจ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ปาณพงษ์ ภูศรี |
th_TH |
dc.contributor.author |
เมธาวี สุดาจันทร์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ปฏิพล สุวบุตร |
th_TH |
dc.contributor.author |
รัตนภรณ์ กุลภา |
th_TH |
dc.contributor.author |
วรัญญา ปาคำ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-01-30T01:09:04Z |
|
dc.date.available |
2023-01-30T01:09:04Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27842 |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
ทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การรู้เท่าทันสื่อ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
นิสิต |
th_TH |
dc.subject.keyword |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ--คณะมนุษยศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Media literacy |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2) ประเมินทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 40 คน ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ผลการวิจัยในครั้งนี้พบว่า 1) พฤติกรรมการใช้สื่อทั่วไปมีการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต หรือสื่อออนไลน์มากที่สุด รองลงมาคือ สื่อดิจิทัล และสื่อโทรทัศน์ 2) ระยะเวลาในการใช้สื่อในแต่ละวัน มีการใช้สื่อเป็นระยะเวลา 8 ชั่วโมงขึ้นไปต่อวันมากที่สุด รองลงมาคือ ระยะเวลา 6-8 ชั่วโมง และ 3-5 ชั่วโมง 3) วัตถุประสงค์ในการใช้สื่อ มีการใช้สื่อเพื่อค้นหาข้อมูลทั่วไปมากที่สุด รองลงมาคือ เพื่อติดต่อสื่อสาร และเพื่อติดตามข่าวสาร 4) ทักษะการรู้เท่าทันสื่อที่อยู่ในระดับดีมาก คือ ด้านการเข้าถึง และด้านการสร้างสรรค์ และระดับดี คือ ด้านการวิเคราะห์ และด้านการประเมินค่า |
th_TH |