dc.contributor.author |
กนกกร ตัลยารักษ์ |
|
dc.contributor.author |
เยาวรีย์ เสริมอมรรัชต์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-27T05:35:43Z |
|
dc.date.available |
2023-01-27T05:35:43Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/husocjr/article/view/257579/171116 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27832 |
|
dc.description.abstract |
This research aims to study the measures for managing solid waste in South Korea, which have affected Korean households’ waste management behavior. This research is based on a ‘document research’ approach to gather information on relevant laws for separating solid waste, extracted from the South Korean Environmental Protection Agency’s website and related research. The study found that South Korea has been systematically resolving the waste problem since 1995, starting from using a ‘Volume-Based Waste Fee system’ that requires Korean households to purchase designated VBWF bags for the purpose of discarding their garbage. The government has carried out public relation campaigns via media outlets to change people's attitudes about separating their household waste. Some of the initiatives contributing to this attitude change include: waiving waste collection fees for those who dispose of their waste in designated areas called ‘Clean House’ and applying fines to households who violate the law; increasing the convenience of food waste disposal by using RFID technology; using a ‘Separate Discharge Mark System’ to promote separating waste collection; controlling disposable plastic bags to reduce the use of plastic bags; using a ‘container deposits system’ to motivate recollection and reuse of empty containers by providing deposit for returning empty containers |
|
dc.subject |
การจัดการขยะ |
|
dc.subject |
เกาหลีใต้ |
|
dc.subject |
ค่าธรรมเนียม |
|
dc.subject |
การทิ้งมูลฝอย |
|
dc.subject |
Solid waste management |
|
dc.subject |
South Korea |
|
dc.subject |
Volume-Based-Waste Fee system |
|
dc.subject |
Korean household waste management behavior |
|
dc.title |
มาตรการการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศเกาหลีใต้ที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน |
|
dc.title.alternative |
Solid Waste Management in South Korea that Affect Korean Household Waste Management Behavior |
|
dc.type |
Articles |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่4 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2565 |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาตรการการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศเกาหลีใต้ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยของประชาชนงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเอกสารรวบรวมข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมูลฝอยและวิธีการคัดแยกมูลฝอยจากเว็บไซต์ของหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศเกาหลีใต้และวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่า ประเทศเกาหลีใต้แก้ปัญหาขยะอย่างเป็นระบบตั้งแต่พ.ศ.2538โดยเริ่มจากการนาระบบVolume Based Waste Fee หรือระบบค่าธรรมเนียมการทิ้งมูลฝอยตามปริมาตรโดยใช้ถุงขยะตามปริมาตรส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยการประชาสัมพันธ์เพื่อเปลี่ยนทัศนคติ และยกเว้นค่าธรรมเนียมการเก็บขยะส าหรับผู้ที่ทิ้งขยะแยกประเภทในClean house หรือจุดคัดแยกขยะที่จัดไว้ให้ ก าหนดโทษส าหรับผู้ที่ฝ่ าฝื นกฎมีการน าเทคโนโลยี RFID หรือเครื่องชั่งน้าหนักและคิดค่าธรรมเนียมอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการขยะอาหารทาให้ประชาชนทิ้งขยะได้สะดวกมากขึ้นกาหนดสัญลักษณ์การแยกประเภทขยะเพื่ออานวยความสะดวกต่อการคัดแยกขยะควบคุมถุงพลาสติกประเภทใช้แล้วทิ้งเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก ใช้ระบบมัดจ าบรรจุภัณฑ์เพื่อเป็ นแรงจูงใจให้ประชาชนน าบรรจุภัณฑ์เปล่าไปคืนเพื่อได้เงินมัดจ าบรรจุภัณฑ์คืน และช่วยส่งเสริมการน าภาชนะบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ |
|