dc.contributor.author |
ภัทร์อร พิพัฒนกุล |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-27T05:35:42Z |
|
dc.date.available |
2023-01-27T05:35:42Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsn/article/view/107837/853644 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27829 |
|
dc.description.abstract |
This research paper is the study of Children’s Poetry in Japanese elementary school textbook after World War II. (1952-2014) It can be divided into 4 periods, which are 1952-1971, 1971-1984, 1984-2000 and 2000-2014. In 70-80 century, Japan was in an era of high economic growth however during that time many problems arose concerning the environment and competition in education. In 1990-2000, an era of information and technology, there were many problems regarding bullying and truancy in school. This period, which was called “the Lost Decade”, caused the younger generation to lose interest in their aspirations and dreams. After the year 2000, the Educational regulations were revised to suit a borderless economic society. Even if there were a lot of changes in Japan Society, Many poetries had been using in elementary school textbooks, to teach the children about the importance of their surroundings. Poetry motivates children to learn to observe and use their imagination. They was not only used for teaching grammar, reading and writing, but also represented the value of life and society. With all of these reasons, the poetry in textbooks are widely read and studied in every periods up until now. |
|
dc.subject |
กวีนิพนธ์สำหรับเด็ก |
|
dc.subject |
แบบเรียน -- การศึกษาขั้นประถม |
|
dc.subject |
ตำรา -- การศึกษาขั้นประถม |
|
dc.subject |
สงครามโลก, ค.ศ. 1939-1945 |
|
dc.subject |
Children’s poetry |
|
dc.subject |
Elementary school textbooks |
|
dc.title |
กวีนิพนธ์สำหรับเด็กในหนังสือเรียนประถมศึกษาญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง |
|
dc.title.alternative |
Children’s Poetry in Japanese Elementary School Textbook after World War II |
|
dc.type |
Articles |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 |
|
dc.identifier.doi |
https://doi.org/10.14456/jsnjournal.2017.24 |
|
dc.description.abstractthai |
บทความนี้จัดทำจากโครงการวิจัยกวีนิพนธ์สำหรับเด็กในหนังสือเรียนประถมศึกษาญี่ปุ่น โดยศึกษาการนำกวีนิพนธ์มาประกอบในหนังสือเรียนเพื่อการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ปีที่มีการปฏิรูปการศึกษาและจัดพิมพ์หนังสือเรียนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ.1952) จนถึงปัจจุบัน (สิ้นสุดการเก็บข้อมูลใน ค.ศ.2014) ผู้วิจัยได้ศึกษาบริบททางสังคมและนโยบายการศึกษาของรัฐบาลในแต่ละช่วงสมัยควบคู่กับการรวบรวมข้อมูลกวีนิพนธ์ในหนังสือเรียนและข้อมูลเกี่ยวกับนักเขียนวรรณกรรมสำหรับเด็ก แบ่งเป็น 4 ช่วงสมัย คือ ค.ศ.1952-1971, 1971-1984, 1984-2000 และ 2000-2014 แม้ว่าจะมีความเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทั้งการพัฒนาประเทศจนมีความเจริญทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและการแข่งขันทางการศึกษาในทศวรรษ 1970-1980 หรือต่อมาในทศวรรษ 1990-2000 ซึ่งญี่ปุ่นกลายเป็นสังคมแห่งข้อมูลข่าวสาร เกิดปัญหาการกลั่นแกล้งในโรงเรียนและการไม่เข้าเรียน ที่เรียกกันว่า “ทศวรรษที่หายไป” (The Lost Decade) ซึ่งอาจเป็นแรงกดดันหนึ่งที่ทำให้เด็กๆ ขาดความฝัน หรือหลังปีค.ศ.2000 ที่มีการปรับปรุงการศึกษาให้เหมาะสมกับสังคมเศรษฐกิจที่มีรูปแบบไร้พรมแดน จากการศึกษาพบว่าไม่ว่าจะในช่วงสมัยใดกวีนิพนธ์ถูกนำมาใช้ในหนังสือเรียนระดับประถมศึกษาของญี่ปุ่นตลอดมา เพื่อเน้นให้เด็กๆ ตระหนักถึงความสำคัญของธรรมชาติรอบตัว เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ นอกจากมีเนื้อหาสอนภาษาและทักษะในการอ่านและเขียนแล้ว ยังแฝงความหมายที่ลึกซึ้งของความหวังและการให้กำลังใจ การตระหนักรู้คุณค่าของชีวิต สะท้อนแง่คิดเกี่ยวกับชีวิตและความมีน้ำใจยอมรับความแตกต่างของมนุษย์ร่วมโลก ลักษณะเช่นนี้ทำให้กวีนิพนธ์จำนวนมากยังมีการอ่านและเรียนรู้ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน |
|