DSpace Repository

การศึกษาสมบัติทางเคมี ปริมาณการเชื่อมขวาง และการแพร่ผ่านของก๊าซ ของพอลิเมอร์ผสม ของยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์กับพอลิพรอพิลีนเทเรฟทาเลตโคพอลิแลกติกแอซิดโคพอลิ แลกติกแอซิด

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภรณี ศรีรมรื่น th_TH
dc.contributor.author ธิดารัตน์ สัตนาโค th_TH
dc.contributor.author วราพร พื้นบน th_TH
dc.date.accessioned 2023-01-13T09:19:29Z
dc.date.available 2023-01-13T09:19:29Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27796
dc.description.abstract The study of chemical properties, crosslink efficiency and gas permeability of poly (propylene terephthalate-co-lactic acid) copolymer affects to properties of epoxidized naturalrubber (ENR). Mechanical blending was carried out using Tin(II) octoate as a catalyst as the ratio of ENR:PPT-co PLA 4:1 2:1 and 1:1 by weight. Polymer blends were analyzed for their chemical properties by FTIR, crosslink efficiency by soxhlet extraction and gas permeability by gas permeability test. ENR 2:PPT-co-PLA 1 indicates not only the lowest epoxidized group from FTIR but also the lowest gas permeability. This may because of the epoxide group in epoxidized natural rubber completely reacted with copolymer. Therefore, this polymer blend (2:1) shows high density of crosslink structure, which represents the same trend as soxhlet extraction result. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การศึกษาสมบัติทางเคมี ปริมาณการเชื่อมขวาง และการแพร่ผ่านของก๊าซ ของพอลิเมอร์ผสม ของยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์กับพอลิพรอพิลีนเทเรฟทาเลตโคพอลิแลกติกแอซิดโคพอลิ แลกติกแอซิด th_TH
dc.title.alternative Study of chemacal propertie crosslink efficiency and gas permeability of epoxidized natural rubber/ poly (propylene terephthalate-co-lactic acid) blend th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword การเชื่อมขวาง th_TH
dc.subject.keyword ยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์ th_TH
dc.description.abstractthai โครงงานวิศวกรรมนี้ได้ศึกษาสมบัติทางเคมี ปริมาณการเชื่อมขวาง และการแพร่ผ่านของก๊าซ ของโคพอลิเมอร์ชนิดพอลิพรอพิลีนเทเรฟทาเลตโคพอลิแลกติกแอซิด (PPT-co-PLA) ที่มีผลต่อสมบัติของยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์ (ENR) ด้วยเทคนิคการผสมเชิงกล (mechanical blending)โดยใช้ Tin(II)octoate เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำการผสมที่อัตราส่วนยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์ต่อโคพอลิเมอร์ (ENR:PPT-co-PLA) 4:1 2:1 และ 1:1 โดยน้ำหนัก พอลิเมอร์ผสมได้ถูกนำไปวิเคราะห์สมบัติทางเคมีด้วยเทคนิค FTIR ปริมาณการเชื่อมขวางด้วยเทคนิคการสกัดด้วยตัวทำละลาย และสมบัติการแพร่ผ่านของก๊าซด้วยเทคนิค Gas permeability จากผลการทดสอบด้วยเทคนิค FTIRพบว่า พอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วน 2:1 แสดงปริมาณของหมู่อีพ๊อกไซด์น้อยที่สุด และที่อัตราส่วนเดียวกันนี้พบว่าแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ผสมมีค่าการแพร่ผ่านของก๊าซน้อยที่สุดด้วยเช่นกัน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากหมู่อีพ๊อกไซด์ในยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์ได้ทำปฏิกิริยากับโคพอลิเมอร์และได้ส่งผลให้โครงร่างตาข่ายที่เกิดขึ้นในพอลิเมอร์ผสมมีความหนาแน่นสูง ซึ่งผลการทดลองนี้ได้สอดคล้องกับการทดสอบหาปริมาณการเชื่อมขวางของโมเลกุลด้วยเทคนิคการสกัด ซึ่งพบว่าที่อัตราส่วน 2:1 มีปริมาณการเชื่อมขวางของโมเลกุลมากที่สุดเช่นกัน th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics