dc.contributor.advisor |
สมไทย สีมาแสง |
th_TH |
dc.contributor.author |
วัชระ ปั้นนาค |
th_TH |
dc.contributor.author |
สง่า น่าบัณฑิตย์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
อัศวิน ยาคะธรรม |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-01-10T09:38:05Z |
|
dc.date.available |
2023-01-10T09:38:05Z |
|
dc.date.issued |
2539 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27770 |
|
dc.description.abstract |
The Engineering Project is designing and creating ventilating system of welding room. The hood is put in the front of the worker for hazardous smoke protection. The operation room consist of five hoods with only one centrifugal fan at the end of the duct. Damper is connected at a branch to control the speed of
ventilation. Designing and testing of ventilating system is performed at the Machanical Engineering laboratory. This system consist of 52 X 1000 mm. five slots hood 450 mm., 380 mm. and 260 mm. diameter circular duct
2 Hp motor, Backward 1440 rpm. centrifugal fan From the experiment, it is founded that this system can operated effectively when the welding center is not more than 40 cm. far from the hood with the 1200 X
1100 mm. working area. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
ระบบระบายควันในห้องเชี่อม |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ความร้อน |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ความร้อนและการระบายความร้อน |
th_TH |
dc.subject.keyword |
เครื่องดูดควัน |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
โครงงานวิศวกรรมศาสตร์ฉบับนี้เป็นการออกแบบและการสรางระบบระบายควันห้องเชื่อมไฟฟ้า ซึ่งจะใช้ Hood ติดตั้งไวัด้านหน้า ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ควันเชื่อมลอยขึ้นด้านบนสัมผัสกับใบหน้าของผู้เชี่อม ในการออกแบบจะมีห้องเชื่อมอยู่ 5 ห้อง และใช้พัดลมระบายอากาศเพียงตัวเดียวที่ทางออกของท่อเมน ในลักษณะนี้จึงตองมีตัวปรับปริมาณการไหลของอากาศ (Damper)
ในท่อแยก เพื่อที่จะให้ความเร็วของการระบายอากาศในห้องเชื่อมในแต่ละห้องมีค่าเท่ากันการออกแบบติดตั้งและทดสอบระบบระบายควัน่ในห้องเชื่อมไฟฟ้าภายในโรงปฎิบัติงานภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ คือ 1. Hood ซึ่งเป็นระบบช่องขนาด 52 X 1000 มิลลิเมตร จำนวน 5 ช่อง 2. ระบบท่อเป็นท่อกลมขนาดเสันผ่านศูนย์กลาง 450
มิลลิเมตร, 380 มิลลิเมตร และ 260 มิลลิเมตร 3. พัดลมแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบ Backward ที่ 1440 รอบต่อนาที ใช้มอเตอร์ขนาด 2 แรงม้าเป็นต้นกำลังจากการติดตั้งและทดสอบปรากฎว่า ในระยะของจุดเชื่อมที่ไม่เกิน 40 เซนติเมตร
ระบบสามารถระบายควันเชื่อมภายในขอบเขตโต๊ะเชื่อมชึ่งมีขนาด 1200 X 1100 มิลลิเมตร และโต๊ะสูงจากพี้น 800 มิลลิเมตร พบว่าไม่มิการฟังกระจายของควันเชื่อมออกนอกขอบเขต |
th_TH |