dc.contributor.author |
คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา |
th_TH |
dc.contributor.author |
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย |
th_TH |
dc.contributor.author |
ศรัญญา ศรีทอง |
th_TH |
dc.contributor.author |
อุษณีย์ วัชรไพศาลกุล |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-01-09T08:54:10Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T08:54:10Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmspsru/article/view/262227 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27747 |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this research were to study rail tourism operation under COVID-19 circumstance in termsof transport and slow tourism factorsand analyzethefactors influencingdecision-making on rail tourism duringthe COVID-19 pandemics.The sample consisted of 385 Thai tourists, which were calculated by Cochran sample size’s formula, and aquestionnairewas usedto collectthe data. The data were statistically analyzed by mean(), standard deviation(S.D.), and the multiple regression analysis with Enter method.Results showedthat the operation of train tourism during theCovid-19 situation in terms of tourist transport factors (= 3.80,S.D. = 0.522)and slow tourism factors (= 3.70,S.D. = 0.542)was ranked at a good level. Tourist transport factors had a statistically significant influence on train travel decisions at .05. Tourist transportfactors and slow tourism factorssignificantly and positively affectedtravel decision-making on rail tourism at the level of .05 intermsof customer care (Beta = .314), safety (Beta = .283), length (Beta = .245), emotion (Beta = .201), and contamination (Beta = .132). |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวรถไฟ ในสถานการณ์โควิด-19 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Factors Influencing Travel Decision-Making on Rail Tourism during the COVID-19 Pandemics |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การท่องเที่ยว |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การตัดสินใจ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
รถไฟ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การท่องเที่ยวเนิบช้า |
th_TH |
dc.subject.keyword |
โควิด-19 |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Rail tourism |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Travel decision making |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Tourist transportation |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Slow tourism |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Covid-19 |
th_TH |
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2565): พฤษภาคม - สิงหาคม 2565 |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานของการท่องเที่ยวรถไฟในสถานการณ์โควิด-19 ในด้านปัจจัยการขนส่งและปัจจัยการท่องเที่ยวเนิบช้า และวิเคราะห์ปัจจัยการขนส่งนักท่องเที่ยวและปัจจัยการท่องเที่ยวเนิบช้าที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวรถไฟในสถานการณ์โควิด-19 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 385 คน โดยวิธีการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของคอแครน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ด้วยวิธี Enter ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินงานของการท่องเที่ยวรถไฟในสถานการณ์โควิด-19 ด้านปัจจัยการขนส่งนักท่องเที่ยว ( = 3.80, S.D. = 0.522) และปัจจัยการท่องเที่ยวเนิบช้า ( = 3.70, S.D. = 0.542) อยู่ในระดับดี ปัจจัยการขนส่งนักท่องเที่ยวและปัจจัยการท่องเที่ยวเนิบช้ามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวรถไฟในสถานการณ์โควิด-19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยด้านการเอาใจใส่นักท่องเที่ยว (Beta = .314) และด้านความปลอดภัย (Beta = .283) มิติด้านระยะเวลา (Beta = .245) และมิติด้านอารมณ์ความรู้สึก (Beta = .201) และมิติด้านการลดความเคลือบแคลงระหว่างกัน (Beta = .132) มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวรถไฟในสถานการณ์โควิด-19 |
th_TH |