dc.contributor.advisor |
คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
จิดาภา มงคลชื่น |
|
dc.contributor.author |
ฉัตรสุดา วาภิไหว |
|
dc.contributor.author |
ชรินรัตน์ ทองพรรณ |
|
dc.contributor.author |
ณัฐธยาน์ สุวรรณศรี |
|
dc.contributor.author |
ทุติยาภรณ์ ชัชวัสวิมล |
|
dc.contributor.author |
ศิวกร วิริยะทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
สุทธิดา ทองเฉลิม |
|
dc.contributor.author |
อรกัญญา เพชรสุข |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-09T07:27:29Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T07:27:29Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27739 |
|
dc.description.abstract |
The purposes of this research were to study and to compare age in terms of
cultural tourism image of Phra Nakorn Si Ayutthaya province in Thai youth perception.
This research was mixed method research that is quantitative research, the sample were
385 Thai youth who travelled to Pra Nakorn Si Ayutthaya province and a questionnaire
was used as a survey tool, and qualitative research, the sample were 5 persons who had
experienced regarding cultural tourism. Data were analyzed statistically using the
frequency, percentage, means, standard deviation, content analysis and the test value
“t” (t-test) in order to compare the cultural tourism image of Phra Nakorn Si Ayutthaya
province in Thai youth perception by age interval.
The results were as followed;
1. The majority of Thai youth was female whose age was 19 – 25 years old. The highest education level was the Bachelor’s degree and most of them were students.
2. The majority of Thai youth travelled to Ayutthaya Province with family for more
than 3 times. The main purpose was to travel and recreate in the weekend. Moreover, they accessed information concerning the cultural attraction in Phra
Nakorn Si Ayutthaya province via internet.
3. The most image of cultural tourism in Phra Nakorn Si Ayutthaya province which
effected perception of Thai youth was cultural history and art (X
= 4.38, S.D. = 0.553)
and followed by atmosphere of the place. (X= 4.35, S.D. = 0.537)
4. Comparison Cultural Tourism image of Phra Nakorn Si Ayutthaya province in Thai
youth perception by age interval, there was no significant difference between 15 -18 years old and 19 – 25 years old at 0.05 levels. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
ภาพลักษณ์ |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม |
|
dc.subject |
เยาวชนไทย |
|
dc.subject |
พระนครศรีอยุธยา |
|
dc.subject |
Tourism Image |
|
dc.subject |
Cultural Tourism |
|
dc.subject |
Youth |
|
dc.subject |
Ayutthaya Province |
|
dc.title |
ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในการรับรู้ของเยาวชนไทย |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาในการรับรู้ของเยาวชนไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Method
Research) คือ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นเยาวชนไทย จำนวน
385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) โดยใช้รูปแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างการสัมภาษณ์ (Semi Structured
Interview) สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency)
การหาร้อยละ (Percentage) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (X) การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การ
วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบการวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 19 – 25 ปี มีระดับการศึกษาส่วน
ใหญ่ในระดับปริญญาตรี และเป็นนักเรียน/นักศึกษา
2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยามากกว่า 3 ครั้งขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อท่องเที่ยวหรือ
นันทนาการ ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร์ – อาทิตย์) และมีการเดินทางท่องเที่ยวกับ
ครอบครัว ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒ นธรรมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจากอินเทอร์เน็ต
3. ผู้ตอบแบบสอบถามมีการรับรู้ภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ด้านศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ (X = 4.38, S.D. = 0.553) มากที่สุด รองลงมาเป็น ด้านบรรยากาศของสถานที่ (X = 4.35, S.D. = 0.537) 4. เมื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของ
ผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบช่วงอายุ 15 – 18 ปี และ 19 – 25 ปี มี
การรับรู้ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (x = 4.35, S.D. = 0.537) |
|