dc.contributor.advisor |
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย |
|
dc.contributor.author |
ชลิตา กิจวิชยรุ่งเรือง |
|
dc.contributor.author |
มินท์ธิตา ไชยคุณ |
|
dc.contributor.author |
นิธิวัชร์ บุญประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
ปาวีณา บุญเหลือ |
|
dc.contributor.author |
สิริวัฒน์ เล้าอรุณ |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-09T07:27:29Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T07:27:29Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27738 |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this research were to study health tourism behaviors by using bicycle and the development guideline of health tourism using bicycle in Bangkok Metropolis. The samples were 400 Thai tourist respondents who used bicycle for heath tourism. A questionaire was used as a survey tool and data were analyzed statistically using frequency, percentage, mean (xˉ) and standard deviation (S.D.).
The results were as followed;
1. The opinions of respondent on development guideline of health tourism using bicycle in Bangkok Metropolis were ranked at moderate level of all aspects namely Tourism Promotion (xˉ = 3.05, S.D. = 0.895), Bicycle Lane (xˉ = 2.74, S.D. = 0.940), Safety (xˉ = 2.62, S.D. = 1.041), Training (xˉ = 2.58, S.D. = 0.985), Equipment and Facilities (xˉ = 2.55, S.D. = 0.937).
2. The majority of respondent was male whose age was between 20 – 40 years old. They were company employee who graduated from bachelor’degree with their income between 10,000 – 20,000 baht per month.
3. The majority of respondent rode the utility bicycle more than 2 – 3 times per week. They had bicycle experience more than 5 years ago with the main purposes of using bicycle for health and exercise. Additionally, the most significant factor which affected their motivation was eco friendly.Their main interesting destination was health attraction. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
dc.subject |
การใช้จักรยาน |
|
dc.subject |
กรุงเทพมหานคร |
|
dc.subject |
Health tourism |
|
dc.subject |
Using bicycle |
|
dc.subject |
Bangkok Metropolis |
|
dc.title |
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยการใช้จักรยานในกรุงเทพมหานคร |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยใช้จักรยานในกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยการใช้จักรยานในกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยเชิงสุขภาพโดยการใช้จักรยาน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย (xˉ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยใช้จักรยานในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว (xˉ = 3.05, S.D. = 0.895) ด้านเส้นทางจักรยาน (xˉ = 2.74, S.D. = 0.940) ด้านความปลอดภัย (xˉ = 2.62, S.D. = 1.041) ด้านการฝึกอบรมความรู้ (xˉ = 2.58, S.D. = 0.985) และด้านอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก
(xˉ = 2.55, S.D. = 0.937)
2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 20,000 บาท
3. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ใช้จักรยานทั่วไป มีความถี่ในการใช้จักรยาน 2 – 3 ครั้งต่อสัปดาห์ มีประสบการณ์ในการขี่จักรยานมากกว่า 5 ปี มีวัตถุประสงค์ในการใช้จักรยานเพื่อสุขภาพ/ออกกำลังกาย ปัจจัยที่ทำให้อยากปั่นจักรยาน คือ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเภทของแหล่งท่องเที่ยวที่สนใจ คือ แหล่งท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ |
|