dc.contributor.advisor | คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา | |
dc.contributor.author | เกษรา กิจจาชาญชัยกุล | |
dc.contributor.author | ชลิตา ราบเรียบ | |
dc.contributor.author | มณีกานต์ พลชนะ | |
dc.contributor.author | เบญญาภา ชารัมย์ | |
dc.contributor.author | ณัฐธิชา เฉลิมวรรณ | |
dc.contributor.author | ณิชกานต์ เหลืองอ่อน | |
dc.contributor.author | ปภาดา ปิ่นตุรงค์ | |
dc.contributor.author | ปรเมศวร์ ครองสุข | |
dc.contributor.author | วิลาสินี พรพรมภักดี | |
dc.date.accessioned | 2023-01-09T07:27:29Z | |
dc.date.available | 2023-01-09T07:27:29Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27736 | |
dc.description.abstract | The purpose of this study aims to study tourist’s responding process towards marketing communications of inflight magazines. This research was the mixed method research. In terms of quantitative research, The samples were 400 tourists using a questionnaire as a survey tool. Semi-structured interview were used in qualitative research to collect data from 4 experts and specialists. Data were analyzed statistically using the percentage, means (x̅), standard deviation, and the test value “t” (t-test) in order to compare respondents’ respondence between nationality, sex, and type of airlines. One-way analysis of variance (ANOVA) was used to compare respondents’ respondence by age, highest education, and income interval. If the results had been significantly different at the level .05 then the Fisher’s Least Significant Difference (LSD) Method would have been employed. The results were as followed; 1. The majority of the respondents were male whose age was between 26 – 35 years old. They graduated from bachelor's degree with their incomes more than 30,000 baht per month. In addition, they travelled with low–cost airlines service. 2. The majority of the respondents frequently read inflight magazine. The most-read article was tourism. Travel360 (AirAsia) was tourists’ most well-known magazine. Furthermore, they spend an average of 10 – 15 minutes per time reading inflight magazine each. 3. The most significant responding process towards marketing communications of inflight magazines was Appeal (X = 3.92, S.D. = 0.695) 4. Comparison respondents’ respondence by gender, there was no significant difference between male and female at 0.05 levels. However, comparison motivation by nationality was significant difference at .05 levels in all aspects and comparison motivation by type of airlines was significant difference at .05 levels in Ask. 5. Comparison respondents’ respondence by age and highest education interval, there was no significant difference at 0.05 levels. But, Comparison respondents’ respondence by income interval, there was significant difference at .05 levels in all aspects excluding Awareness. | |
dc.language | th | |
dc.publisher | คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | |
dc.subject | นักท่องเที่ยว | |
dc.subject | การสื่อสารทางการตลาด | |
dc.subject | นิตยสาร | |
dc.subject | Respondence | |
dc.subject | Marketing Communications | |
dc.subject | Inflight Magazine | |
dc.title | กระบวนการตอบสนองของนักท่องเที่ยวต่อการสื่อสารทางการตลาดนิตยสารบนเครื่องบิน | |
dc.title.alternative | Tourists’ responding process towards marketing communications of inflight magazine | |
dc.type | Working Paper | |
dc.description.abstractthai | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการตอบสนองของนักท่องเที่ยวต่อการสื่อสาร ทางการตลาดนิตยสารบนเครื่องบิน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) คือ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวจำนวน 400 คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้รูปแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi Structured Interview) สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาร้อยละ (Percentage) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̅) การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่า “ที” (t-test) ในการ เปรียบเทียบการตอบสนองของผู้ตอบแบบสอบถามระหว่างเพศ สัญชาติ ประเภทสายการบิน และการ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างอายุ วุฒิการศึกษา และรายได้ที่แตกต่างกัน โดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way analysis of variance: ANOVA) กรณีพบค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะวิเคราะห์ความแตกต่างนั้นเป็นรายคู่ด้วยวิธี Fisher’s Least Significant Difference (LSD) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อยู่ในช่วงอายุ 26 – 35 ปี มีวุฒิการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยมากกว่า 30,000 บาท/เดือน และส่วนใหญ่ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ 2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อ่านนิตยสารบนเครื่องบินบ่อยครั้ง โดยบทความในนิตยสารบน เครื่องบินที่ให้ความสนใจมากที่สุด คือ การท่องเที่ยว นิตยสารบนเครื่องบินที่นักท่องเที่ยวรู้จักมากที่สุด คือ นิตยสาร Traval360 (แอร์เอเชีย) และส่วนใหญ่ใช้ระยะเวลาในการอ่านนิตยสารบนเครื่องบิน 10 - 15 นาที/ครั้ง 3. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการตอบสนองต่อการสื่อสารทางการตลาดนิตยสารบน เครื่องบิน ด้านการชื่นชอบสินค้า (x̅ = 3.92, S.D. = 0.695) มากที่สุด 4. เมื่อเปรียบเทียบการตอบสนองต่อการสื่อสารทางการตลาดนิตยสารบนเครื่องบินของผู้ตอบ แบบสอบถาม จำแนกตามเพศ พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่เมื่อจำแนก ตามสัญชาติ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน และจำแนกตามประเภทสาย การบิน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในรายด้านการสอบถาม 5. เมื่อเปรียบเทียบการตอบสนองต่อการสื่อสารทางการตลาดนิตยสารบนเครื่องบินของผู้ตอบ แบบสอบถาม จำแนกตามอายุ และวุฒิการศึกษา พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่เมื่อจำแนกตามรายได้ พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน ยกเว้นด้านการรู้จักสินค้า |