dc.description.abstract |
The purpose of this study were to study Adventure Tourism behaviors in Teenagers and The First Stage of Early Working Adulthood. Questionnaires was used to collect data from 200 teenagers (age 15-22) and 200 first stage of early adulthood (age 23-30). Semi structured interview was used as an instrument for interviewing Adventure tourism experts. Data were analyzed statistically using the Frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing by using t-test.
The study results were as followed;
1. Most of samples who responded to the questionnaire were female, bachelor’s degree as their education level, most of samples occupation were students with average income 5,000 – 10,000 baht per month.
2. The adventure tourism behaviors of samples were as followed; the respondents were interested in adventure tourism at moderate level. A reason that the samples who chose adventure tourism activities because of hilariously feeling and their main objective was for relaxation, participated in adventure tourism activities 2-3 times per month, travelled with their friends by car and van about 2-6 participants at the time. Majority of respondents travel planed in winter season. Camping and snorkeling (soft adventure activities), water adventure activities and ATV riding (hard adventure activities) were the most adventure activities that samples like to do. Most samples used Facebook and Pantip as a main website for searching data and receiving news about adventure tourism.
3. The opinions of adventure activities and attractions choosing behaviors in factors of Attraction (xˉ = 3.99 , S.D. = 0.58), Accessibility (xˉ = 3.77 , S.D. = 0.68), Amenities (xˉ = 3.84 , S.D. = 0.68), Activities (xˉ = 4.03 , S.D. = 0.61), Available Package (xˉ = 3.78 , S.D. = 0.81), and Ancillary Services (xˉ = 3.90 , S.D. = 0.84) were ranked at high level.
4. For hypothesis testing by using t-test between teenager and first stage of early working adulthood was founded that the opinion about choosing adventure tourism activities were not different. |
|
dc.description.abstractthai |
การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยของวัยรุ่นและวัยทำงานตอนต้น กลุ่มประชากรที่ใช้ในการค้นคว้า คือประชากรที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นและวัยทำงานตอนต้น ที่มีอายุระหว่าง 15-30 ปี 400 จำนวนคนและผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย 3 คน ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า จำนวน ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานค่าที
ผลจากการศึกษาค้นคว้า ปรากฏดังนี้
1. กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นและวัยทำงานและวัยทำงานตอนต้นส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุระหว่าง 15-22 ปี และ 23-30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คือ นักเรียน นักศึกษา ซึ่งมีรายได้เฉลี่ยระหว่าง 5,000-10,000 บาท
2. พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยของกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นและวัยทำงานตอนต้นมีความสนใจในการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย ในระดับปานกลาง มีเหตุผลในการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยเพราะรู้สึกสนุกสนาน มีวัตถุประสงค์ในการเดินทางท่องเที่ยวหลัก คือ ต้องการเดินทางเพื่อพักผ่อน โอกาสเดินทางท่องเที่ยวเชิงผจญภัย 2-3 ครั้งต่อเดือน เดินทางผจญภัยกับเพื่อนเป็นส่วนใหญ่ จำนวนผู้ร่วมเดินทาง 2-6 คน ส่วนใหญ่เดินทางโดยรถยนต์ รองลงมาคือรถตู้โดยสาร เลือกเดินทางในฤดูหนาว กิจกรรมผจญภัยแบบเบาที่ชื่นชอบคือการพักแรมแบบกางเต็นท์ รองลงมาคือดำน้ำตื้น กิจกรรมผจญภัยแบบหนักที่ชื่นชอบคือกีฬาผจญภัยทางน้า รองลงมาคือการขับรถแบบเอทีวี ส่วนใหญ่ใช้ Facebook เป็นช่องทางหลักในการหาข้อมูลและรับข่าวสารการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย
3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยทุกด้านในระดับมาก ด้านสิ่งดึงดูดในทางการท่องเที่ยว (xˉ = 3.99 , S.D. = 0.58) ด้านความสามารถในการเข้าถึง (xˉ = 3.77 , S.D. = 0.68) ด้านด้านสิ่งอานวยความสะดวก(xˉ = 3.84 , S.D. = 0.68) ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย (xˉ = 4.03 , S.D. = 0.61) ด้านการโปรแกรมการท่องเที่ยวผจญภัย (xˉ = 3.78 , S.D. = 0.81) และด้านสิ่งอานวยความสะดวกขั้นสูง (xˉ = 3.90 , S.D. = 0.84)
4. จากการทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที ของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทางานตอนต้น พบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยในทุกด้านไม่แตกต่างกัน |
|