dc.contributor.advisor |
จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด |
|
dc.contributor.author |
จิรัชญา ศรีประดิษฐ์ |
|
dc.contributor.author |
ธนกมล อุ้ยรัมย์ |
|
dc.contributor.author |
ฟาร์ฏิมา ภูตาคม |
|
dc.contributor.author |
ภูษิดา เต็งยี่ |
|
dc.contributor.author |
อภิษฎา มิ่งโสภา |
|
dc.contributor.author |
อินทัช ชูถึง |
|
dc.contributor.author |
ฐิตาพร วีระวัฒนานนท์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-09T07:27:28Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T07:27:28Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27731 |
|
dc.description.abstract |
The objective of this study was to study approach for supporting workation for
Gen Y Thai tourists in New Normal. This study was mixed methods research
and quantitative research. The sample group was 385 Gen Y Thai tourists who were born
from 1980 to 1994 or aged between 27 and 41 at present who experienced or were
interested in workation by using a questionnaire ( online) as a tool for data collection.
Statistics for data collection included frequency, percentage, mean ( x) and standard
deviation ( S.D.). There was qualitative research by using semi–structured interviews
to interview public and private agencies in the part of tourism and 4 representatives
of tourists. Interview form was used as data collection tool for content analysis.
1. Workation was a type of tourism that occurred from technological
progress at present and started to be more popular from COVID – 19 situation that created
type of working, that was called “Work From Home” and led to mixed tourism that
destination of tourists were ability to work with travel or relaxation, and became workation
finally.
2. Most of the respondents had no experience, but they were interested in
traveling for work. Most of them used to travel to work in Bangkok and surrounding areas
with the purpose of resting on vacation Usually travel in groups/tour groups. They stayed
at the hotel for 2 nights and the activity was taking photos/videos. The needs of the
tourists who traveled to work had the most demand for amenities (x= 4.50, S.D. = 0.49).
3. Guidelines for promoting tourism for workation could be summarized as
follows: 1) Attraction for tourism: Tourist attractions should pay more attention to security
measures and cleanliness from the spread of the COVID – 19, 2 ) Accessibility: Transport
routes and traffic should be developed to avoid congestion in order to increase
the convenience and speed of access to tourist attractions., 3) Accommodation should be
priced according to the facilities or the experience that tourists will receive, including safety
in terms of life, property and measures to prevent the spread of the COVID – 1 9 ,
4 ) Tourism activities: we should focus on activities that would help relax tourists from
work and avoid activities that must gather with too many people and 5) Facilities: there were basic and technological facilities are also important, such as fast Wi-Fi internet
and working space. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไป |
|
dc.subject |
ยุคปกติใหม่ |
|
dc.subject |
เจนวาย |
|
dc.subject |
Workation |
|
dc.subject |
New Normal |
|
dc.subject |
Gen Y |
|
dc.title |
แนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไป (Workation)
สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย Gen Y ในยุคปกติใหม |
|
dc.title.alternative |
Guidelines for Promoting Tourism as a Workation for Gen Y Thai Tourists
in the New Normal Era |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไป
สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย Gen Y ในยุคปกติใหม่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การวิจัย
เชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทย Gen Y ที่เกิดในช่วงปีพ.ศ. 2523 – 2537
หรืออายุระหว่าง 27 – 41 ปี ในปัจจุบัน ที่มีประสบการณ์หรือมีความสนใจการท่องเที่ยวแบบเที่ยวไป
ทำงานไป จำนวน 385 คน โดยใช]แบบสอบถาม (ออนไลน์) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x)
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช่รูปแบบการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง
สัมภาษณ์หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนด้านการท่องเที่ยว และตัวแทนนักท่องเที่ยว จำนวน 4 ท่าน
และใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
1. การท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไปเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นจากความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีในปัจจุบัน และเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โควิด – 19 ที่ก่อให้เกิดรูปแบบการทำงานที่เรียกว่า Work From Home จนนำมาสู่การท่องเที่ยว
แบบผสมผสานที่จุดมุ่งหมายของนักท่องเที่ยวคือการที่สามารถทำงานพร]อมกับการเดินทางท่องเที่ยว
หรือพักผ่อนได้ และกลายเป็นการท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไปในที่สุด
2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์แต่มีความสนใจที่จะเดินทางท่องเที่ยวแบบ
เที่ยวไปทำงานไป ส่วนใหญ่เคยเดินทางท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไปในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพักผ่อนในวันหยุด มักจะเดินทางเป็นกลุ่ม/หมู่คณะ พักที่โรงแรมระยะเวลา 2 คืน
และกิจกรรมที่ทำคือถ่ายรูป/ถ่ายวิดีโอ ความต้องการของนักท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไป
มีความต้องการด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (x = 4.50, S.D. = 0.49) มากที่สุด
3. แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบเที่ยวไปทำงานไปสามารถสรุปได้ดังนี้ 1) ด้านสิ่งดึงดูด
ใจทางการท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวหรือแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ควรให้ความสำคัญกับมาตรการรักษา
ความปลอดภัย และความสะอาดจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 มากยิ่งขึ้น
2) ด้านการเข้าถึง ควรมีการพัฒนาเส้นทางคมนาคม และการจราจรไม่ไห้เกิดความติดขัด เพื่อเพิ่มความ
สะดวก และรวดเร็วในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว 3) ด้านที่พัก ควรมีการตั้งราคาที่พักที่เหมาะสมกับสิ่ง
อำนวยความสะดวกหรือเหมาะสมกับประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ รวมถึงความปลอดภัยทั้งในด้านชีวิต ทรัพย์สิน และมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 4) ด้านกิจกรรม
การท่องเที่ยว ควรเน้นกิจกรรมที่จะช่วยผ่อนคลายนักท่องเที่ยวจากการทำงาน และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่
ต้องรวมตัวกับผู้คนมากเกินไป 5) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก นอกจากสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานที่
พึงมี สิ่งอำนวยความสะดวกในด้านเทคโนโลยีก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญ เช่น อินเทอร์เน็ต Wi–Fi ที่รวดเร็วและพื้นที่ที่เอื้อต่อการทำงาน |
|