DSpace Repository

แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย กลุ่มมิลเลนเนียลส์ ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 สู่ Next Normal ในกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด
dc.contributor.author กรชวัลย์ คนียพันธุ์
dc.contributor.author นริศรา สมานเขตต์
dc.contributor.author นิรชา มณีวงศ์
dc.contributor.author ภูริตา จันทร์แก้ว
dc.contributor.author ศศิยาพัชร กุลดิลก
dc.contributor.author อรุณวรรณ สมชะนะ
dc.contributor.author หทัยชนก ทองนำ
dc.date.accessioned 2023-01-09T07:27:28Z
dc.date.available 2023-01-09T07:27:28Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27730
dc.description.abstract This research aimed to study the guidelines for promoting Staycation for Thai Millennials tourists in the COVID-19 pandemic to the Next Normal at Bangkok. This study was designed as mixed methods research. It comprised quantitative research focusing on 385 Thai Millennials by using research tool as questionnaire and qualitative research depending on 5 key informants and using research tool as interview forms together with Content Analysis. 1. The COVID-19 pandemic led to decreasing numbers of foreign:main tourism that impacting to tourism and hospitality industry: therefore, the entrepreneurs had to adapt with mixture of strategies to attract Thai travelers. Staycation will be recovering economy and tourism in future and made the new experience for tourism. 2. As for the behaviors and demands of Thai Millennials Staycation, it was found that most travelers never Staycation but interesting to relax by spending one night during the weekend. Meanwhile, these tourists preferred to use private vehicles the most, and their favorite activities were photographing and shooting video. It also appeared that these travelers require for convenience the most (×􀴥= 4.38, S.D. = 0.52) whereas the Marketing Mix 4Cs these travelers demanded the most was service convenience (×􀴥= 4.55, S.D. = 0.51) 3. The guidelines for promoting Staycation can be concluded as follows. 1) Attraction: it is necessary to design accommodation as private places with beauty and identity as well as to have special promotion. 2) Activities: it is important to have several activities with hygiene and cooperate with local community. 3) Access: it is crucial to provide enough parking lots for travelers, together with a guide to accommodation as well as shuttle bus taking a public transport. 4) Amenities: it is vital to install inclusive amenities and develop IT system. 5) Accommodation: it is a necessity to prepare enough spaces and the accommodation should have global standard. 6) Customer demands: hotels should be clean and suitable for respite, together with all-inclusive amenities.7) Cost: the accommodation itself must match advertising as claimed, the places must be easily accessible, and accommodation needs to prepare full services. 8) Convenience: the strategy and services should be adjusted, and the hospitality services must have standard. 9) Communication: it is important to have several communication channels on social media aside from promoting of Staycation increasingly.
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject การท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่น
dc.subject มิลเลนเนียลส์
dc.subject Next Normal
dc.subject Staycation
dc.subject Millennials
dc.title แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย กลุ่มมิลเลนเนียลส์ ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 สู่ Next Normal ในกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative Guidelines for promoting Staycation for Thai Millennials tourists in the COVID-19 pandemic to the Next Normal at Bangkok
dc.type Working Paper
dc.description.abstractthai การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยกลุ่มมิลเลนเนียลส์ ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 สู่ Next Normal ในกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานคือ การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยกลุ่มมิลเลนเนียลส์ จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิจัยเชิงคุณภาพโดยมี Key Informants จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้นักท่องเที่ยวต่างชาติมีจำนวนน้อยลง กระทบต่อธุรกิจที่พักและแหล่งท่องเที่ยว ผู้ประกอบการต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ โดยสร้างกลยุทธ์เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวไทย การท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นจะช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในอนาคต และสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้แก่นักท่องเที่ยวมากขึ้น 2. พฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยกลุ่มมิลเลนเนียลส์ จากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโควิด-19 พบว่า พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์แต่มีความต้องการเดินทางท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่น เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ โดยใช้ระยะเวลา 1 คืน ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ เดินทางโดยยานพาหนะส่วนบุคคลมากที่สุด กิจกรรมที่มักจะทำคือ ถ่ายรูปหรือถ่ายวิดีโอ ซึ่งความต้องการของนักท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นมีความต้องการด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (×= 4.38, S.D. = 0.52) มากที่สุด และส่วนประสมทางการตลาด 4Cs ที่นักท่องเที่ยวต้องการมากที่สุดคือด้านความสะดวกสบายในการได้รับบริการ (× = 4.55, S.D. = 0.51) 3. แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่น สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1) ด้านสิ่งดึงดูดใจ ควรออกแบบที่พักให้มีความเป็นส่วนตัว สวยงาม มีเอกลักษณ์ และมีโปรโมชั่นที่ทำให้นักท่องเที่ยวสนใจ 2) ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว ควรมีกิจกรรมที่หลากหลาย และมีการร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น 3) ด้านการเข้าถึง ควรมีที่จอดรถให้เพียงพอสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยว มีป้ายบอกทางไปยังที่พัก และมีบริการรถรับส่งจากที่พัก 4) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ควรจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในห้องพักที่ครบครัน รวมถึงพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในที่พัก 5) ด้านที่พัก ควรมีพื้นที่เพียงพอและได้รับมาตรฐานระดับสากล 6) ด้านสิ่งที่ลูกค้าต้องการ ที่พักควรเหมาะแก่การพักผ่อน สะอาด และมีสิ่งอำนวย ความสะดวกที่ครบครัน 7) ด้านความคุ้มค่าของลูกค้า ที่พักต้องตรงกับภาพโฆษณาที่กล่าวอ้าง เดินทางเข้าถึงได้สะดวก และควรเตรียมบริการให้พร้อมต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 8) ด้านความสะดวกสบาย ในการได้รับบริการ ควรปรับกลยุทธ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน 9) ด้านการสื่อสาร ควรมีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย รับฟังสิ่งที่นักท่องเที่ยวแสดงความคิดเห็นบนสื่อสังคมออนไลน์ มีการส่งเสริมทางการตลาดการท่องเที่ยวแบบสเตเคชั่นมากยิ่งขึ้น


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics