dc.contributor.advisor |
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย |
|
dc.contributor.author |
ญาดาธิป สายแสงทอง |
|
dc.contributor.author |
นภสร กสิกิจ |
|
dc.contributor.author |
นันท์นภัส ไตรโชค |
|
dc.contributor.author |
วัศยา ฤทธิ์รงค์ |
|
dc.contributor.author |
อโรชา กังกริช |
|
dc.contributor.author |
ไอรวี พันธ์พืช |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-09T07:27:28Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T07:27:28Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27727 |
|
dc.description.abstract |
The purposes of this research were to study the tourist’s behavior used alternative taxi service and to study marketing mix of using alternative taxi service of tourists in Bangkok Metropolis. The Samples were 388 respondents, Thai tourists and excursionists who used alternative taxi service in Bangkok Metropolis. Data were analyzed statistically in terms of frequency, percentage, mean (𝑋)̅̅̅ and standard deviation (S.D.). The results were as followed:
1. Most of the respondents were female undergraduate students, aged between 18 - 24 years old, working as salarymen, with an average monthly wage of 15,001 - 30,000 baht.
2. Most of the respondents chose Grab taxi service as their choice of taxi transportation more than 7 times. The main reason was convenient. The average fee per-use is around 150 - 200 baht, paid in cash. The hour of usage was around 18:00 - 21:00. Most of the news and information on Grab taxi service were obtained from the internet and websites.
3. The opinion of respondents on marketing mix of using alternative taxi services in Bangkok Metropolis were ranked in high level in term of privacy policy ( 𝑋̅ = 4.07, S.D. = 0.70 ), product ( 𝑋̅ = 3.99, S.D. = 0.62 ), place ( 𝑋̅ = 3.96, S.D. = 0.63 ), price ( 𝑋̅ = 3.66, S.D. = 0.72 ), promotion ( 𝑋̅ = 3.62, S.D. = 0.68 ) and personal service ( 𝑋̅ = 3.55, S.D. = 0.61 ) respectively. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
ส่วนประสมทางการตลาด |
|
dc.subject |
รถแท็กซี่ทางเลือก |
|
dc.subject |
นักท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
กรุงเทพมหานคร |
|
dc.subject |
Marketing mix |
|
dc.subject |
Alternative taxi service |
|
dc.subject |
Tourists |
|
dc.subject |
Bangkok Metropolis |
|
dc.title |
การศึกษาส่วนประสมทางการตลาดการใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกในกรุงเทพมหานคร |
|
dc.title.alternative |
Marketing mix of using alternative taxi service of tourists in Bangkok Metropolis |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในการใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกในกรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดการใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกของนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักท่องเที่ยวและนักทัศนาจรชาวไทยที่เคยใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกในกรุงเทพมหานคร จำนวน 388 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (𝑋̅) และการหาค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 18 - 24 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานหรือลูกจ้างเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 30,000 บาท
2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกในกรุงเทพมหานครผ่านแอปพลิเคชัน Grab มากกว่า 7 ครั้งขึ้นไป โดยเหตุผลหลักในการตัดสินใจเลือกใช้บริการ คือ มีความสะดวกสบาย โดยเลือกใช้บริการด้วยตนเอง อัตราค่าโดยสารเฉลี่ยต่อครั้งในการใช้บริการอยู่ที่ราคา 150 - 200 บาท โดยชำระค่าบริการด้วยเงินสด ช่วงเวลาที่ใช้บริการ คือ ช่วง 18.01 - 21.00 น. และได้รับข้อมูลข่าวสารมาจากอินเตอร์เน็ตหรือเว็บไซต์
3. ส่วนประสมทางการตลาดการใช้บริการรถแท็กซี่ทางเลือกในกรุงเทพมหานคร ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการรักษาความเป็นส่วนตัวมากที่สุด ( 𝑋̅ = 4.07, S.D. = 0.70 ) ด้านผลิตภัณฑ์ ( 𝑋̅ = 3.99, S.D. = 0.62 ) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ( 𝑋̅ = 3.96, S.D. = 0.63 ) ด้านราคา ( 𝑋̅ = 3.66, S.D. = 0.72 ) ด้านการส่งเสริมการตลาด ( 𝑋̅ = 3.62, S.D. = 0.68 ) ด้านการให้บริการส่วนบุคคล ( 𝑋̅ = 3.55, S.D. = 0.61) |
|