dc.contributor.author |
ณัฐวุธ แก้วสุทธา |
th_TH |
dc.contributor.author |
ณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน |
th_TH |
dc.contributor.author |
วิกุล วิสาลเสสถ์ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2022-12-13T06:14:23Z |
|
dc.date.available |
2022-12-13T06:14:23Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25186 |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this study were to evaluate the mental health and associated factors
of dental students of Srinakharinwirot University. The study was a cross-sectional survey study.
The sample included all 1st-6th year dental students of the Faculty of Dentistry, Srinakharinwirot
University during December 2011 to January 2012. All dental students were invited to
complete the questionnaire for demographic data, and the Thai General Health Questionnaire 12
(Thai GHQ-12). Mean, percentage, Chi-square and logistic regression were used to analyze
the data. The Results showed that, there were 287 dental students (78.6%) who completed
the questionnaire. 107 (37.3%) of the dental students had a Thai GHQ-12 score more than
2 which indicate chance of mental health problem. Multivariate analysis revealed three factors
significantly associated with the students’ mental health: gender, dental class, and domicile.
Female dental students had a 1.82 times higher risk of mental health problems than males.
The Clinical dental students (4th-6th year) were 4.41 times more likely to have mental health
problems than Pre-Clinical dental students (1st-3rd year). Dental students from rural areas were
2.12 times more likely to suffer mental health problems than the dental students from Bangkok.
The three factors that were significantly associated with the risk of mental health problems in
dental students were gender, dental class, and domicile |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
ภาวะสุขภาพจิตและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนิสิตทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Mental health and associated factors in srinakharinwirot university dental students |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
นิสิตทันตแพทย์ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
สุขภาพจิต |
th_TH |
dc.subject.keyword |
จีเอชคิว-12 |
|
dc.subject.keyword |
GHQ-12 |
|
dc.subject.keyword |
Mental health |
|
dc.subject.keyword |
Dental students |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557 |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาวะสุขภาพจิต และปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาพจิตของนิสิตทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยเป็นการศึกษาแบบสำรวจภาคตัดขวางเก็บข้อมูลจากนิสิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒทุกคน ชั้นปีที่ 1-6 ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554
ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2555 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลประชากรศาสตร์ และแบบวัดประเมินสุขภาพทั่วไป
ฉบับภาษาไทย (Thai General Health Questionnaire-12; จีเอชคิว-12) วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ของตัวแปรโดยใช้สถิติไคสแควร์ และใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอย จากผลการศึกษามีผู้ตอบแบบสอบถาม
ครบถ้วนสมบูรณ์ 287 คน คิดเป็นร้อยละ 78.6 จากจำนวนนิสิตทั้งหมด 365 คน พบว่า มีนิสิต
ทันตแพทย์ จำนวน 107 คน (ร้อยละ 37.3) มีคะแนน จีเอชคิว-12 มากกว่า 2 ซึ่งจัดว่าเป็นกลุ่มที่มีโอกาส มีปัญหาสุขภาพจิต จากการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติวิเคราะห์พหุตัวแปร พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เพศ ชั้นปี และภูมิลำเนา ทั้งนี้ นิสิตทันตแพทย์
เพศหญิงมีโอกาสมีปัญหาสุขภาพจิตเป็น 1.82 เท่าของนิสิตทันตแพทย์เพศชาย และนิสิตทันตแพทย์
ชั้นคลินิก (ปีที่ 4-6) มีโอกาสมีปัญหาสุขภาพจิตเป็น 4.41 เท่าของนิสิตทันตแพทย์ชั้นพรีคลินิก
(ปีที่1-3) และนิสิตทันตแพทย์ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในชนบทมีโอกาสมีปัญหาสุขภาพจิตเป็น 2.12 เท่า
ของนิสิตทันตแพทย์ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งสรุปได้ว่า เพศ ชั้นปี และภูมิลำเนา เป็นปัจจัย
ที่มีความสัมพันธ์กับโอกาสมีปัญหาสุขภาพจิตของนิสิตทันตแพทย์ |
th_TH |