dc.contributor.author |
อดุลย์ ศุภนัท |
th_TH |
dc.contributor.author |
อรรถพล จรจันทร์ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2022-12-13T02:08:55Z |
|
dc.date.available |
2022-12-13T02:08:55Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25184 |
|
dc.identifier.uri |
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RJPJ/article/view/257975 |
|
dc.description.abstract |
This article aimed to studythe nudge theory test and loan repayment planning guidelines and to study and analyze factors influencing the repayment planning of student loan fund. This research using behavioral economics experimental tools by NudgeTheory test. The research results were found as follows: experiment with nudge to provide positive and negative information for the experimental group. The efficacy of the positive experimental group was 87.78% and the efficacy of the negative trial was 83.33%, while the control group was free of any intervention. It was found that there was a savings of 80.00% when offered to join the project with the National Savings Fund. Nudge using default option can increase all groups. The Logit model analysis revealed that the factors influencing the repayment planning of the Student Loan Fund were gender and the experimental group negative data, which was statistically significant level at 0.05. While, grades and the using Default Option, which was statistically significant level at 0.10. So, Nudge Theory can motivate to saving of individuals and powerful effect on change behavior to more saving. |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
พฤติกรรมทางการเงินและการวางแผนการชําระเงินคืนของผู้กู้ยืมเงินกองทุนเพื่อการศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
พฤติกรรมทางการเงิน |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ทฤษฎีการสะกิด |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การใช้ทางเลือกหลัก |
th_TH |
dc.subject.keyword |
กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Behavioral Financial |
|
dc.subject.keyword |
Default Option |
|
dc.subject.keyword |
Student Loan Fund |
|
dc.subject.keyword |
Nudge Theory |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารรัชต์ภาคย์. ปีที่ 16 ฉบับที่ 48 (2565): กันยายน - ตุลาคม |
|
dc.description.abstractthai |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทดสอบการสะกิด (Nudge Theory)กับการวางแผนการชําระเงินคืนกองทุนฯ ของผู้กู้ยืมกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.)และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนการชําระเงินคืนของผู้กู้ยืมกองทุนฯ (กยศ.)การงานวิจัยครั้งนี้เป็นการทดลองด้วยการสะกิด (Nudge) อาศัยเครื่องมือที่ใช้การทดลองเชิงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมผลการวิจัยพบว่าการได้รับข้อมูลเชิงบวกและลบสําหรับกลุ่มทดลอง กลุ่มการทดลองเชิงบวกมีประสิทธิภาพร้อยละ 87.78 และประสิทธิภาพกลุ่มการทดลองเชิงลบร้อยละ 83.33 ขณะที่กลุ่มควบคุมที่ปราศจากการแทรกแซงใดๆ พบว่ามีประสิทธิภาพร้อยละ 80.00 เมื่อเสนอเข้าร่วมโครงการกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) โดยการเพิ่มเงินสมทบกับผู้กู้ยืมเงินกองทุน (กยศ.)ที่ตัดสินใจออมกับกองทุน (กอช.)ที่เป็นทางเลือกหลัก (Default Option) ส่งผลให้กลุ่มอาสาสมัครตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นในกลุ่มการทดลองเชิงบวกและลบขณะที่การวิเคราะห์จําลอง Logit พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนการชําระเงินคืนของผู้กู้ยืมกองทุนฯ (กยศ.)ได้แก่ เพศและกลุ่มทดลองที่ได้รับข้อมูลเชิงลบมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ขณะที่ระดับผลคะแนนเฉลี่ยและการใช้ Default Option มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.10ดังนั้นการใช้ทฤษฎีการสะกิดจึงสามารถจูงใจให้บุคคลเห็นความสําคัญของการออม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออมมากขึ้น |
|