DSpace Repository

การพัฒนาอัตลักษณ์เครื่องประดับเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดตราด

Show simple item record

dc.contributor.author ธนกฤต ใจสุดา th_TH
dc.contributor.author วิมลิน สันตจิต th_TH
dc.date.accessioned 2022-10-13T01:25:19Z
dc.date.available 2022-10-13T01:25:19Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25157
dc.description ได้รับทุนสนับสนุการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) th_TH
dc.description.abstract This research had the objectives to 1) study, analyze and categorize identity of Trat province and 2) to design jewelry that expressed identity of Trat province. The research was conducted by studying identity and uniqueness of Trat province by interviewing experts regarding identity of Trat. The data acquired were categorized into the appearing identity groups Along with exploring and assessing people's perceptions of Trat Province identity in each group. Collecting data from questionnaire of 200 people. Data analysis will be used to design and develop a jewelry with entrepreneurs in the area. and selected and produced 2 sets of prototypes. From the research result, it was found that identity and image of Trat province was acknowledged to be an important port city from the past and it was an important shoreline tourism city of the East of Thailand. It was abundant on natural resources, foods and culture. Therefore, Trat was a famous city on sea tourism of the East, and it was an agricultural and local lifestyle tourism city. It could be divided into 4 contexts including 1) natural context 2) historical context 3) social and lifestyle context and 4) Arts and culture context. Regarding the assessment result of awareness and understanding of identity of Trat of questionnaire respondents, the context with the most awareness was natural context. Regarding the design of identity jewelry of Trat, the research used the concept of creative jewelry design along with specifying design criteria. The design was mixture of Trat identity in various contexts and its format was consistent with the jewelry trend design of 2022. The results of the research were 3 sets of Trat cultural ornaments. Research shows that the ability to Identity can be developed into jewelry. Create unique jewelry and add value to the product. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การพัฒนาอัตลักษณ์เครื่องประดับเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดตราด th_TH
dc.title.alternative The development of jewelry from the identity of local culture in Trat Province th_TH
dc.type Technical Report th_TH
dc.subject.keyword การออกแบบเครื่องประดับ th_TH
dc.subject.keyword การออกแบบเชิงวัฒนธรรม th_TH
dc.subject.keyword อัตลักษณ์ th_TH
dc.subject.keyword เอกลักษณ์ th_TH
dc.subject.keyword ตราด th_TH
dc.subject.keyword Creative jewelry desig th_TH
dc.subject.keyword Identity th_TH
dc.subject.keyword Trat province th_TH
dc.subject.keyword Cultural jewelry th_TH
dc.description.abstractthai การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา วิเคราะห์ และจำแนกอัตลักษณ์จังหวัดตราด อันนำไปสู่ การออกแบบเครื่องประดับที่แสดงถึงอัตลักษณ์จังหวัดตราด ใช้วิธีการเก็บข้อมูลอัตลักษณ์ตราด โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ทำการสรุปจัดจำแนกกลุ่มอัตลักษณ์ที่ปรากฏ พร้อมทั้งประเมินการรับรู้ของผู้คนที่มีต่ออัตลักษณ์จังหวัดตราดในแต่ละกลุ่ม จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 200 คน ข้อมูลผลการวิเคราะห์ดังกล่าวจะถูกนำไปใช้ในเป็นแนวทางในการเครื่องประดับร่วมกับผู้ประกอบการในพื้นที่ในรูปแบบของการจัดอบรม ผลการวิจัยพบว่า อัตลักษณ์ ภาพลักษณ์จังหวัดตราดรับรู้ว่าเป็นเมืองท่าการค้าที่สำคัญมาตั้งแต่อดีต และเป็นเมืองท่องเที่ยวทางชายทะเลที่สำคัญของฝั่งตะวันออกของไทย มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ อาหารการกิน และวัฒนธรรม ตราดจึงเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวทางทะเลของภาคตะวันออก และเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวิถีชุมชน แบ่งออกเป็น 4 บริบท ดังนี้ 1) บริบททางด้านธรรมชาติ 2) บริบททางด้านประวัติศาสตร์ 3) บริบททางด้านสังคมวิถีชีวิต และ 4) บริบททางด้านศิลปวัฒนธรรม โดยผลการประเมินการรับรู้และเข้าใจอัตลักษณ์ของตราดของผู้ตอบแบบสอบถาม บริบทที่มีการรับรู้มากที่สุด คือ บริบทด้านธรรมชาติ การออกแบบเครื่องประดับอัตลักษณ์ตราดผู้วิจัยใช้แนวคิดการออกแบบเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์ ร่วมกับการกำหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไข (Design Criteria) การออกแบบเป็นการผสมผสานอัตลักษณ์ตราดในบริบทด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกันและมีรูปแบบที่สอดคล้องกับกระแสการออกแบบเครื่องประดับ ปี 2022 ผลจากการวิจัยทำให้ได้เครื่องประดับเชิงวัฒนธรรมตราด จำนวน 3 ชุด แสดงให้เห็นว่าสามารถนำเอาอัตลักษณ์ เอกลักษณ์มาพัฒนาเป็นเครื่องประดับได้ ก่อให้เกิดรูปแบบของเครื่องประดับที่มีเอกลักษณ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics