dc.description.abstractthai |
------14/11/2560------(OCR)
หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า
บทสรุปการประดิษฐ์
การประดิษฐ์นี้เป็นการปรับปรุงคุณภาพของกาวซีเมนต์ ให้มีคุณสมบัติทึบนํ้าควบคู่กับ
คุณสมบัติเฉพาะด้านการยึดเกาะของกาวซีเมนต์ เพื่อใช้ในการติดตั้งวัสดุปกคลุมบนพื้นผิวซีเมนต์ ซึ่งส่วนใหญ่
หมายถึง กระเบื้องที่มีคุณสมปติทนทานและการดูดซึมนํ้าตํ่า
การประดิษฐ์นี้ เป็นการแก้ปัญหาการใช้วัสดุซ้ำซ้อนและการติดตั้งเสร็จสิ้นในคราวเดียว โดยไม่
เสียเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย โดยการนำเทคโนโลยีการฟอร์มผลึก (Integral crystallization
technology) ขึ้นภายในโครงสร้างของกาวซีเมนต์ ด้วยการใช้สารผสมเพิ่มทางเคมี ที่สำคัญ ได้แก่ คริสตัลไล
เชชั่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization powder additives) ที'มีลักษณะทางกายภาพเป็นผงละเอียด
สีเทา หรือ สีขาว มีชื่อทางเคมี (Chemical Name) ว่า ซิลิเคท ออกไซต์ (Silicate Oxide) มีองค์ประกอบ
ทางเคมีของ นาโน ซิลิคอน ไดออกไซต์ (Active Nano Silicon Dioxide) มากกว่า 80% รวมทั้งสารผสมเพิ่ม
อื่นๆ ประกอบด้วย ซิลิกา ฟูม (Silica Fume) พลาสติไซซิ่ง โพลิเมอร์ (Plasticizing Polymer) และ
รีทาร์ดเดอร์ (Retarder) บอกเหนือจากที่เป็นส่วนประกอบเดิมของ กาวซีเมนต์ ซึ่งได้แก่ ปูนซีเมนต์ ปอร์ต
แลนด์ ชนิดที่ 1 (Ordinary Portland Cement Type I) ทรายแห้งคัดขนาดพิเศษ, โพลิเมอร์ รีดิสเพอร์ซิ่ง
แอดดิทีฟ (Polymer redispersing Agent), ไรดรอกซี่โพรพิล เมทิลเขลลูโลส (Hydroxypropyl Methyl
Cellulose) หรือ เมทิลเซลลูโลส ดิริเวทีฟ (Methyl Cellulose Derivatives)
การประดิษฐ์ที่ประสบผลสำเร็จใหม่นี้ ใช้การเกิดปฎิกริยา ไรเดรชั่น (Hydration) ของซีเมนต์
กันนํ้า ร่วมกับ คริสเตอร์โรเซชี่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization Additives) ที่กระจายตัวอยู่ในเนื้อ
ซีเมนต์ และโมเลกุลของ แคลเซียม ที่ไม่เสถียร (Unstable Calcium Molecule) เกิดเป็น ผลึกแคลเซียม
ซิลิเคท (Calcium Silicate Crystal) และ อลูมีเนียม ซิลิเคท (Aluminum Silicate Crystal) มีลักษณะคล้าย
เข็ม (Needle-like) ไม่ละลายนํ้าแทรกซึมเช้าไปในช่องว่าง หรือ รูพรุน แคปปลารี่ (Capillary pore) ภายใน
เนื้อซีเมนต์ แทรกลึกลงไปในทุกอนูทำให้ช่องว่างของซีเมนต์ ทึบด้วยผลึกคริสตัล และมีคุณสมบัติทึบนํ้าใน
ที่สุด และการเกิดผลึกดังกล่าวนี้ จะเกิดซ้ำขึ้นอีกเมื่อมีความขึ้นเพียงเล็กน้อยแทรกเช้าไปในพื้นผิวซีเมนต์
ที่เกิดรอยแตกร้าว โดยความขึ้นในอากาศจะเป็นตัวกระตุ้น แคลเซียม อีออน สารประกอบอนินทรีย์
ที่หลงเหลืออยู่ กับ คริสเตอไรเซชั่น เพาเดอร์ ที่อยู่ในระยะพัก (Dormant) ให้เกิดปฏิกิริยาการฟอร์มผลึกขึ้น
อีก ทำให้ปดรอยแตกร้าวขนาดเล็กของพื้นผิวซีเมนต์ที่มีขนาดไม่เกิน 0.3 มิลลิเมตร ได้ด้วยตัวเอง
------------
แก้ไข 21 ก.ย. 2560
การประดิษฐ์นี้เป็นการปรับปรุงคุณภาพของกาวซีเมนต์ ให้มีคุณสมบัติทึบน้ำควบคู่กับ
คุณสมบัติเฉพาะด้านการยึดเกาะของกาวซีเมนต์ เพื่อใช้ในการติดตั้งวัสดุปกคลุมบนพื้นผิวซีเมนต์ ซึ่งส่วนใหญ่
หมายถึง กระเบื้องที่มีคุณสมบัติทนทานและการดูดซึมน้ำต่ำ
การประดิษฐ์นี้ เป็นการแก้ปัญหาการใช้วัสดุซํ้าซ้อนและการติดตั้งเสร็จสิ้นในคราวเดียว โดยไม่
เสียเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย โดยการนำเทคโนโลยีการฟอร์มผลึก (Integral crystallization
technology) ขึ้นภายในโครงสร้างของกาวซีเมนต์ ด้วยการใช้สารผสมเพิ่มทางเคมี ที่สำคัญ ได้แก่ คริสตัลไล
เซชั่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization powder additives) ที่มีลักษณะทางกายภาพเป็นผงละเอียด
สีเทา หรือ สีขาว มีชื่อทางเคมี (Chemical Name) ว่า ซิลิเคท ออกไซด์ (Silicate Oxide) มีองค์ประกอบ
ทางเคมีของ นาโน ซิลิคอน ไดออกไซด์ (Active Nano Silicon Dioxide) มากกว่า 80% รวมทั้งสารผสมเพิ่ม
อื่นๆ ประกอบด้วย ซิลิกา ฟูม (Silica Fume) พลาสติไซซิ่ง โพลิเมอร์ (Plasticizing Polymer) และ
รีทาร์ดเดอร์ (Retarder) นอกเหนือจากที่เป็นส่วนประกอบเดิมของ กาวซีเมนต์ ซึ่งได้แก่ ปูนซีเมนต์ ปอร์ต
แลนด์ ชนิดที่ 1 (Ordinary Portland Cement Type l) ทรายแห้งคัดขนาดพิเศษ, โพลิเมอร์ รีดิสเพอร์ซิ่ง
แอดดิทีฟ (Polymer redispersing Agent), ไฮดรอกซี่โพรพิล เมทิลเซลลูโลส (Hydroxypropyl Methyl
Cellulose) หรือ เมทิลเซลลูโลส ดิริเวทีฟ (Methyl Cellulose Derivatives)
การประดิษฐ์ที่ประสบผลสำเร็จใหม่นี้ ใช้การเกิดปฎิกริยา ไฮเดรชั่น (Hydration) ของซีเมนต์
กันน้ำ ร่วมกับ คริสเตอร์ไรเซชี่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization Additives) ที่กระจายตัวอยู่ในเนื้อ
ซีเมนต์ และโมเลกุลของ แคลเซียม ที่ไม่เสถียร (Unstable Calcium Molecule) เกิดเป็น ผลึกแคลเซียม
ซิลิเคท (Calcium Silicate Crystal) และ อลูมีเนียม ซิลิเคท (Aluminum Silicate Crystal) มีลักษณะคล้าย
เข็ม (Needle-like) ไม่ละลายน้ำแทรกซึมเข้าไปในช่องว่าง หรือ รูพรุน แคปปิลารี่ (Capillary pore) ภายใน
เนื้อซีเมนต์ แทรกลึกลงไปในทุกอนูทำให้ช่องว่างของซีเมนต์ ทึบด้วยผลึกคริสตัล และมีคุณสมบัติทึบน้ำใน
ที่สุด และการเกิดผลึกดังกล่าวนี้ จะเกิดซํ้าขึ้นอีกเมื่อมีความชื้นเพียงเล็กน้อยแทรกเช้าไปในพื้นผิวซีเมนต์
ที่เกิดรอยแตกร้าว โดยความชื้นในอากาศจะเป็นตัวกระตุ้น แคลเซียม อิออน สารประกอบอนินทรีย์
ที่หลงเหลืออยู่ กับ คริสเตอไรเซชั่น เพาเดอร์ ที่อยู่ในระยะพัก (Dormant) ให้เกิดปฎิกริยาการฟอร์มผลึกขึ้น
อีก ทำให้ปิดรอยแตกร้าวขนาดเล็กของพื้นผิวซีเมนต์ที่มีขนาดไม่เกิน 0.3 มิลลิเมตร ได้ด้วยตัวเอง --------------------------------------------- การประดิษฐ์นี้เป็นการปรับปรุงคุณภาพของกาวซีเมนต์ ที่ใช้ในการติดตั้งวัสดุปกคลุมบนพื้นผิว
ซีเมนต์โดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่ หมายถึง กระเบื้องที่มีคุณสมบัติทนทานและการดูดซึมน้ำต่ำ โดยกาวซีเมนต์
จะทำหน้าที่ประสานกระเบื้องกับวัสดุพื้นผิว ด้วยแรงยึดเกาะทางเคมี (Chemical bond) ทำให้ทนทานต่อ
แรงเฉือน (Shear force) หรือ ความเค้นทางกล (Mechanical force)
การประดิษฐ์นี้ จึงเป็นการแก้ปัญหาการใช้วัสดุซํ้าซ้อนและการติดตั้งเสร็จสิ้นในคราวเดียว โดย
ไม่เสียเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย โดยการนำเทคโนโลยีการฟอร์มผลึก (Integral crystallization
technology) ขึ้นภายในโครงสร้างของกาวซีเมนต์ ด้วยการใช้สารผสมเพิ่มทางเคมี ที่สำคัญ ได้แก่ คริสตัลไล
เซซั่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization powder additives) ที่มีลักษณะทางกายภาพเป็นผงละเอียด
สีเทา หรือ สีขาว มีชื่อทางเคมี (Chemical Name) ว่า ซิลิเคท ออกไซด์ (Silicate Oxide) มีองค์ประกอบ
ทางเคมีของ นาโน ซิลิคอน ไดออกไซด์ (Active Nano Silicon Dioxide) มากกว่า 80% รวมทั้งสารผสมเพิ่ม
อื่นๆ ประกอบด้วย ซิลิกา ฟูม (Silica Fume) พลาสติไซซิ่ง โพลิเมอร์ (Plasticizing Polymer) และ
รีทาร์ดเดอร์ (Retarder) นอกเหนือจากที่เป็นส่วนประกอบเดิมของ กาวซีเมนต์ ซึ่งได้แก่ ปูนซีเมนต์ ปอร์ต
แลนด์ ชนิดที่ 1 (Ordinary Portland Cement Type I) ทรายแห้งคัดขนาดพิเศษ, โพลิเมอร์ รีดิสเพอร์ซิ่ง
แอดดิทีฟ (Polymer redispersing Agent), ไฮดรอกซี่โพรพิล เมทิลเซลลูโลส (Hydroxypropyl Methyl
Cellulose) หรือ เมทิลเซลลูโลส ดิริเวทีฟ (Methyl Cellulose Derivatives)
การประดิษฐ์ที่ประสบผลสำเร็จใหม่นี้ใช้การเกิดปฎิกริยา ไฮเดรชั่น (Hydration) ของซีเมนต์
กันน้ำ ร่วมกับ คริสเตอร์ไรเซชี่น เพาเดอร์ แอดดิทีฟ (Crystallization Additives) ที่กระจายตัวอยู่ในเนื้อ
ซีเมนต์ และโมเลกุลของ แคลเซียม ที่ไม่เสถียร (Unstable Calcium Molecule) เกิดเป็น ผลึกแคลเซียม
ซิลิเคท (Calcium Silicate Crystal) และ อลูมีเนียม ซิลิเคท (Aluminum Silicate Crystal) มีลักษณะ
คล้ายเข็ม (Needle-like) แทรกซึมเข้าไปในช่องว่าง หรือ รูพรุน แคปปิลารี่ (Capillary pore) ภายในเนื้อ
ซีเมนต์ แทรกลึกลงไปในทุกอนูทำให้ซ่องว่างของซีเมนต์ ทึบด้วยผลึกคริสตัล และมีคุณสมบัติทึบน้ำในที่สุด
และการเกิดผลึกดังกล่าวนี้ จะเกิดซํ้าขึ้นอีกเมื่อมีความขึ้นเพียงเล็กน้อยแทรกเข้าไปในพื้นผิวซีเมนต์ที่เกิดรอย
แตกร้าว โดยความชื้นในอากาศจะเป็นตัวกระตุ้น แคลเซียม อิออน สารประกอบอนินทรีย์ ที่หลงเหลืออยู่
กับ คริสเตอไรเซชั่น เพาเดอร์ ที่อยู่ในระยะพัก (Dormant) ให้เกิดปฎิกริยาการฟอร์มผลึกขึ้นอีก ทำให้ปิด
รอยแตกร้าวขนาดเล็กของพื้นผิวซีเมนต์ที่มีขนาดไม่เกิน 0.3 มิลลิเมตร ได้ |
|