dc.date.accessioned |
2022-10-06T08:23:13Z |
|
dc.date.available |
2022-10-06T08:23:13Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25144 |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
กรมทรัพย์สินทางปัญญา |
|
dc.subject |
สิทธิบัตร |
|
dc.title |
สารแอนาลอก 13-อัลคอกซีเบอร์เบอรินที่ออกฤทธิ์ต้านมะเร็ง |
|
dc.type |
Patent |
|
dc.contributor.inventor |
สิริธร สโมสร |
|
dc.contributor.inventor |
บงกช ตันวิรัตน์ |
|
dc.contributor.inventor |
อภิชาต สุขสำราญ |
|
dc.contributor.assignee |
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย |
|
dc.contributor.assignee |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.description.abstractthai |
DC60 (09/04/56)
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับสารแอนาลอก 13-อัลคอกซีเบอร์เบอริน ที่แสดงฤทธิ์ต้านมะเร็ง
โดยทำการสังเคราะห์ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของสารตั้งต้นเบอร์เบอริน พบว่าสารแอนาลอก 13-อัลคอก
ซีเบอร์เบอรินมีประสิทธิภาพสูงมากในการออกฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก และ มะเร็ง
เต้านม สามารถต้านเซลล์มะเร็งดังกล่าวได้ที่ความเข้มข้นระดับนาโนกรัม/มิลลิลิตร มีประสิทธิภาพดี
กว่าสารตั้งต้นเบอร์เบอริน 1.4-546.7 เท่า และดีกว่ายาต้านมะเร็งอิลลิบติชิน (ellipticine) และ ด๊อก
โซรูบิซิน (doxorubicin) ที่สำคัญคือสารแอนาลอกเหล่านี้มีความเฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งปอด
โดยเฉพาะสารประกอบ 8 และ สารประกอบ 10 มีค่า selectivity index มากกว่า 10,000 ซึ่งหมายถึง
ปริมาณของสาร 8 และ 10 ที่สามารถต้านเซลล์มะเร็งได้มีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับปริมาณของสารทั้ง
สองที่มีผลทำให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติ ดังนั้น สาร 8 และ 10 จึงจัดเป็นสารต้านมะเร็งที่
เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งปอด และมีความปลอดภัยสูงต่อเซลล์ปกติ
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับสารแอนาลอก 13-อัลคอกซีเบอร์เบอริน ที่แสดงฤทธิ์ด้านมะเร็ง
โดยทำการสังเคราะห์ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของสารตั้งต้นเบอร์เบอริน พบว่าสารแอนาลอก 13-อัลคอก
ซีเบอร์เบอรินมีประสิทธิภาพสูงมากในการออกฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก และ มะเร็ง
เต้านม สามารถต้านเซลล์มะเร็งดังกล่าวได้ที่ความเข้มข้นระดับนาโนกรัม/มิลลิลิตร มีประสิทธิภาพดี
กว่าสารตั้งต้นเบอร์เบอริน 1.4-546.7 เท่า และดีกว่าต้านมะเร็งอิลลิบติชิน (ellipticine) และด๊อก
โซรูบิซิน (doxorubicin) ที่สำคัญคือสารแอนาลอกเหล่านี้มีความเฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งปอด
โดยเฉพาะสารประกอบ 8 และสารประกอบ 10 มีค่า selcctivity index มากกว่า 10,000 ซึ่งหมายถึง
ปริมาณของสาร 8 และ 10 ที่สามารถต้านเซลล์มะเร็งได้มีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับปริมาณของสารทั้ง
สองที่มีผลทำให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติ ดังนั้น สาร 8 และ 10 จึงจัดเป็นสารต้านมะเร็งที่
เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งปอด และมีความปลอดภัยสูงต่อเซลล์ปกติ |
|