dc.date.accessioned | 2022-10-06T08:23:13Z | |
dc.date.available | 2022-10-06T08:23:13Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25140 | |
dc.language | th | |
dc.publisher | กรมทรัพย์สินทางปัญญา | |
dc.subject | สิทธิบัตร | |
dc.title | กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติด้วยไอออนพลังงานสูง | |
dc.type | Patent | |
dc.contributor.inventor | ดวงแข บุตรกูล | |
dc.contributor.inventor | สมศร สิงขรัตน์ | |
dc.contributor.inventor | เสวต อินทรศิริ | |
dc.contributor.inventor | ถิรพัฒน์ วิลัยทอง | |
dc.contributor.assignee | มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ | |
dc.description.abstractthai | DC60 (30/06/59) กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติตามการประดิษฐ์นี้ จัดให้มีส่วนของการ วิเคราะห์ชนิด องค์ประกอบและปริมาณของธาตุเจือ มีผลต่อความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนสีของพลอย ธรรมชาติตระกูลคอรันดัม การนำไอออนที่สร้างได้มาเร่งไอออนให้มีความเร็วสูง เพื่อให้วิ่งชนพลอยและ ให้ผลของพลังงานจากการชนด้วยความเร็ว เพื่อให้ผลจากพลังงานที่ได้รับเกิดการเปลี่ยนสีพลอยไปตาม ต้องการ โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวมีการกำหนดระดับพลังงานที่ให้กับพลอยโดยตรง อาศัยการเร่งอนุภาค ไอออนจากเครื่องเร่งอนุภาคส่งผลให้เกิดลำไอออนพลังงานสูงวิ่งเข้าชนพลอยโดยตรง ผลของ บรรยากาศการให้พลังงานสูงโดยใช้ไอออนชนิดต่าง ๆ เช่น อาร์กอน ออกซิเจน ไนโตรเจน จะมีผลต่อ การกระตุ้นการถ่ายโอนอิเลคตรอน ผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของพลอยเช่น ในพลอยไพลินสีนํ้า เงินที่มีสีเหลืองหรือสีส้มปน หลังจากใช้ไอออนไนโตรเจนพลังงานสูง ผลที่ได้จะมีการสลายไปของสี เหลือง สีส้มแดง ได้เป็นพลอยสีน้ำเงินเข้มสด ส่วนพลอยทับทิม ที่มีสีแดงอมม่วงหลังจากใช้ไอออน ออกซิเจนพลังงานสูง จะทำให้ผลที่ได้คือทำให้ลดโทนสีนํ้าเงิน เป็นทับทิมสีแดงเข้มสด กระบวนการนี้จะ ไม่ทำลายเนื้อพลอย และเป็นการเปลี่ยนแปลงภายโครงสร้างในพลอยอย่างถาวร ให้สีหลักเข้มขึ้น สม่่ำเสมอ ให้สีรองอ่อนลง รวมทั้งเพิ่มความใส สะอาด เป็นการเพิ่มมูลค่าพลอยธรรมชาติที่ไม่เป็น อันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต แก้ไข 07/03/2560 (27/02/2560) กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติตามการประดิษฐ์นี้ จัดให้มีส่วนของการ วิเคราะห์ชนิด องค์ประกอบและปริมาณของธาตุเจือ มีผลต่อความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนสีของพลอย ธรรมชาติตระกูลคอรันดัม การนำไอออนที่สร้างได้มาเร่งไอออนให้มีความเร็วสูง เพื่อให้วิ่งชนพลอยและ ให้ผลของพลังงานจากการชนด้วยความเร็ว เพื่อให้ผลจากพลังงานที่ได้รับเกิดการเปลี่ยนสีพลอยไปตาม ต้องการ โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวมีการกำหนดระดับพลังงานที่ให้กับพลอยโดยตรง อาศัยการเร่งอนุภาค ไอออนจากเครื่องเร่งอนุภาคส่งผลให้เกิดลำไอออนพลังงานสูงวิ่งเข้าชนพลอยโดยตรง ผลของ บรรยากาศการให้พลังงานสูงโดยใช้ไอออนชนิดต่างๆ เช่น อาร์กอน ออกซิเจน ไนโตรเจน จะมีผลต่อ การกระตุ้นการถ่ายโอนอิเลคตรอน ผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของพลอยเช่น ในพลอยไพลินสีนํ้า เงินที่มีสีเหลืองหรือสีส้มปน หลังจากใช้ไอออนไนโตรเจนพลังงานสูง ผลที่ได้จะมีการสลายไปของสี เหลือง สีส้มแดง ได้เป็นพลอยสีน้ำเงินเข้มสด ส่วนพลอยทับทิม ที่มีสีแดงอมม่วงหลังจากใช้ไอออน ออกซิเจนพลังงานสูง จะทำให้ผลที่ได้คือทำให้ลดโทนสีนํ้าเงิน เป็นทับทิมสีแดงเข้มสด กระบวนการนี้จะ ไม่ทำลายเนื้อพลอย และเป็นการเปลี่ยนแปลงภายโครงสร้างในพลอยอย่างถาวร ให้สีหลักเข้มขึ้น สม่่ำเสมอ ให้สีรองอ่อนลง รวมทั้งเพิ่มความใส สะอาด เป็นการเพิ่มมูลค่าพลอยธรรมชาติที่ไม่เป็น อันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต ---------------------------------------------------- แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 30/06/2559 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติตามการประดิษฐ์นี้ จัดให้มีส่วนของการ วิเคราะห์ชนิด องค์ประกอบและปริมาณของธาตุเจือ มีผลต่อความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนสีของพลอย ธรรมชาติตระกูลคอรันดัม การนำไอออนที่สร้างได้มาเร่งไอออนให้มีความเร็วสูง เพื่อให้วิ่งชนพลอยและ ให้ผลของพลังงานจากชนด้วยความเร็ว เพื่อให้ผลจากพลังงานที่ได้รับเกิดการเปลี่ยนสีพลอยไปตาม ต้องการ โดยที่ขึ้นตอนดังกล่าวที่มีการกำหนดระดับพลังงานที่ให้กับพลอยโดยตรง อาศัยการเร่งอนุภาค ไออนจากเครื่องเร่งอนุภาคส่งผลให้เกิดลำไอออนพลังงานสูงวิ่งเข้าชนพลอยโดยตรง ผลของ บรรยากาศการให้พลังงานสูงโดยใช้ไอออนชนิดต่าง ๆ เช่น อาร์กอน ออกซิเจน ไนโตรเจน จะมีผลต่อ การกระตุ้นการถ่ายโอนอิเลคตรอน ผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของพลอยเช่น ในพลอยไพลินสีน้ำ เงินที่มีสีเหลืองหรือสีส้มปน หลังจากใช้ไอออนไนโตรเจนพลังงานสูง ผลที่ได้จะมีการสลายไปของสี เหลือง สีส้มแดง ได้เป็นพลอยสีน้ำเงินเข้มสด ส่วนพลอยทับทิม ที่มีสีแดงอมม่วงหลังจากใช้ไอออน ออกซิเจนพลังงานสูง จะทำให้ผลที่ได้คือทำให้ลดโทนสี่น้ำเงิน เป็นทับทิมสีแดงเข้มสด กระบวนการนี้จะ ไม่ทำลายเนื้อพลอย และเป็นการเปลี่ยนแปลงภายโครงสร้างในพลอยอย่างถาวร ให้สีหลักเข้มขึ้น สม่ำเสมอ ให้สีรองอ่อนลง รวมทั้งเพิ่มความใส สะอาด เป็นการเพิ่มมูลค่าพลอยธรรมชาติที่ไม่เป็น อันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต ---------------------------- แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 08/09/2558 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติตามการประดิษฐ์นี้ จัดให้มีส่วนของการ วิเคราะห์ชนิด องค์ประกอบและปริมาณของธาตุเจือ มีผลต่อความเป้นไปได้ของการเปลี่ยนสีของพลอย ธรรมชาติตระกูลคอรันดัม การนำไอออนที่สร้างได้มาเร่งไอออนให้มีความเร็วสูง เพื่อให้วิ่งชนพลอยและ ให้ผลของพลังงานจากการชนด้วยความเร็ว เพื่อให้ผลจากพลังงานที่ได้รับเกิดการเปลี่ยนสีพลอยไปตาม ต้องการ โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวมีการกำหนดระดับพลังงานที่ให้กับพลอยโดยตรง อาศัยการเร่งอนุภาค ไอออนจากเครื่องเร่งอนุภาคส่งผลให้เกิดลำไอออนพลังงานสูงวิ่งชนพลอยโดยตรง ผลของ บรรยากาศการอิมพลานเตชันโดยใช้ไอออนชนิดต่างๆ เช่น อาร์กอน ออกซิเจน ไนโตรเจน จะมีผลต่อ การกระตุ้นการถ่ายโอนอิเลคตรอน ผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของพลอยเช่น ในพลอยลินสีน้ำเงินที่ มีสีเหลืองหรือสีส้มปน หลังจากใช้ไอออนไนโตรเจนอิมพลานเตชัน ผลที่ได้จะมีการสลายไปของสีเหลือง สีส้มแดง ได้เป้นพลอยสีน้ำเงินเข้มสด ส่วนสีแดงอมม่วงจะทำให้ผลที่ได้คือทำให้ลดโทนสีน้ำเงิน เป็นสี แดงเข้มสด กระบวนการนี้จะไม่ทำลายเนื้อพลอย และเป็นการเปลี่ยนแปลงภายโครงสร้างในพลอยอย่าง ถาวร ให้สีหลักเข้มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ให้สีรองอ่อนลง รวมทั้งเพิ่มความใส สะอาด เป็นการเพิ่มมูลค่าพลอย ธรรมชาติที่ไม่ทำอันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต ------------------------------ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมธรรมชาติตามการประดิษฐ์นี้ จัดให้มีส่วนของ ขั้นตอนการยิงไอออนความเร็วสูงเพื่อวิ่งชนพลอยและให้ผลของพลังงานจากการชนด้วยความเร็วและ ชนิดของไอออน เพื่อให้ผลจากพลังงานที่ได้รับการเปลี่ยนสีพลอยไปตามต้องการ โดยที่ขั้นตอน ดังกล่าวมีการกำหนดระดับพลังงานที่ให้กับพลอยโดยตรง อาศัยการเร่งอนุภาคไอออนจากเครื่องเร่ง อนุภาคส่งผลให้เกิดลำไอออนพลังงานสูงวิ่งเข้าชนพลอยโดยตรง กระบวนการนี้จะไม่ทำลายเนื้อพลอย และเป็นการเปลี่ยนแปลงสีพลอยอย่างถาวร เช่น ให้สีหลักเข็มขึ้นสม่ำเสมอ ให้สีรองอ่อน ลง รวมทั้งเพิ่มความใส่ สะอาด เป็นการเพิ่มมลค่าพลอยธรรมชาติที่ไม่ทำอันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต |