DSpace Repository

โอลิโกนิวคลีโอไทด์ หรือ ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์ (Oligonucleotide or DNA aptamer) สำหรับตรวจเชื้อซาลโมเนลล่า สปีซี่ (Salmonella spp.), อีโคไล (E. coli) และลิสทีเรียโมโนไซโทจีเนส (Listeria monocytogenes หรือ LM) ด้วยหลักการของการจับแบบจำเพาะกับตัวเซลล์ (Whole cells)

Show simple item record

dc.date.accessioned 2022-10-05T08:09:05Z
dc.date.available 2022-10-05T08:09:05Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25126
dc.language th
dc.publisher กรมทรัพย์สินทางปัญญา
dc.subject สิทธิบัตร
dc.title โอลิโกนิวคลีโอไทด์ หรือ ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์ (Oligonucleotide or DNA aptamer) สำหรับตรวจเชื้อซาลโมเนลล่า สปีซี่ (Salmonella spp.), อีโคไล (E. coli) และลิสทีเรียโมโนไซโทจีเนส (Listeria monocytogenes หรือ LM) ด้วยหลักการของการจับแบบจำเพาะกับตัวเซลล์ (Whole cells)
dc.type Patent
dc.contributor.inventor โกสุม จันทร์ศิริ
dc.contributor.inventor สมชาย สันติวัฒนกุล
dc.contributor.inventor สุพัตรา อารีกิจ
dc.contributor.inventor สุดารัตน์ เล็ดลอด
dc.contributor.assignee มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.contributor.assignee บริษัท ซีพีเอฟ ฟู้ด แอนด์ เบฟเวอร์เรจ จำกัด
dc.identifier.patentnumber 19446
dc.description.abstractthai บทสรุปการประดิษฐ์ โอลิโกนิวคลีโอโทด หรือ ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์ (oligonucleotide or DNA aptamer) ที่มีลำดับนวคลิ โอไทด์ (nucleotides) "GCGCTGTGCGGATGTCATGATGTGCCTCTTCCCTGTGTCCGC" หรือ ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์ ที่มีเปอร์เซ็นต์ความเหมือนของลำดับนิวคลิโอไทด์ (% nucleotide homology) 50 - 100% เมื่อเทียบกับดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์นี้ โดย ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์นี้ถูกตรึงอยู่บนผิวอนุภาคทอง (Gold- nanoparticles หรือ AuNP) หรืออนุภาคโลหะที่เลือกได้จาก เงิน ทองแดง และ/หรือ วัสดุที่เลือกได้จาก แก้ว พลาสติก โดยใช้พันธะไดซัลไฟด์ หรือพันธะที่เลือกได้จาก พันธะโควาเลนท์เพื่อใช้ตรวจจับแบบจำเพาะ กับตัวเซลล์ (Whole cells) ของเชื้อซาลโมเนลล่า สปีชี่ (Salmonella spp.), อีโคไล (E. coli) และลิสทีเรีย โม โนไซโทจีเนส (Listeria monocytogenes หรือ LM) ที่ปนเปื้อนในตัวอย่างอาหาร และสิ่งแวดล้อม โดยที่การ พัฒนาโอลิโกนิวคลีโอไทด์ หรือ ดีเอ็นเอ แอฟตาเมอร์ (oligonucleotide or DNA aptamer) สำหรับตรวจเชื้อ ซาลโมเนลล่า สปีชี่ {Salmonella spp.), อีโคไ'ล (E. coli) และลิสทีเรียโมโนไซโทจีเนส {Listeria monocytogenes หรือ LM) ด้วยหลักการของการจับแบบจำเพาะกับตัวเซลล์ (Whole cells) นี้ มีระยะเวลาในการเกิดสีของสารละลายในช่วง 1 -45 นาทีในสภาวะที่มีเกลือแมกนีเซียมซัลเฟสที่ความเข้มข้นในช่วง 0.001 - 1.5 M โดยอ่านผลจากสีของสารละลายด้วยตาเปล่า


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics