dc.date.accessioned |
2022-10-05T08:09:05Z |
|
dc.date.available |
2022-10-05T08:09:05Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25121 |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
กรมทรัพย์สินทางปัญญา |
|
dc.subject |
สิทธิบัตร |
|
dc.title |
สารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซีเบอร์เบอรินที่มีฤทธิ์เป็นสารต้านมะเร็งเต้านม 13-Arylalkyleneoxyberberine Derivatives as Anti-Breast Cancer Agents |
|
dc.type |
Patent |
|
dc.contributor.inventor |
สิริธร สโมสร |
|
dc.contributor.assignee |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.identifier.patentnumber |
11579 |
|
dc.description.abstractthai |
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับ สารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซีเบอร์เบอริน (1) ที่แสดงฤทธิ์ต้านมะเร็ง โดยทำการสังเคราะห์ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของสารตั้งต้นเบอร์เบอรินเพื่อให้มีฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก และ มะเร็งเต้านม พบว่าสารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซีเบอร์
เบอรินบางตัว มีประสิทธิภาพสูงกว่าเบอร์เบอรินในการออกฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งปอด และ มะเร็งช่อง
ปาก สำหรับฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งเต้านม สารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซิเบอร์เบอรินทุกตัว มี
ประสิทธิภาพสูงกว่าเบอร์เบอริน 4-7580 เท่า และสูงกว่ายาต้านมะเร็ง อิลลิบติซิน และ ด๊อกโซรูบิซิน
โดยเฉพาะสารประกอบ 10 มีค่า ซีเล็กติวิตี อินเด็กซ์ เท่ากับ 10,000 ซึ่งหมายถึง ปริมาณของสาร 10
ที่
สามารถต้านเซลล์มะเร็งเต้านมได้มีค่าต่ำมากเมื่อเทียบกับปริมาณของสาร 10 ที่มีผลทำให้เกิดความเป็น
พิษต่อเซลล์
ปกติ ดังนั้น สาร 10 จึงจัดเป็นสารต้านมะเร็งที่เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งเต้านม และมี
ความปลอดภัย
สูงต่อเซลล์ปกติ
(สูตรเคมี)
1
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับ สารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซีเบอร์เบอริน(1) ที่แสดงฤทธิ์
ต้านมะเร็ง โดยทำการสังเคราะห์ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของสารตั้งต้นเบอร์รินเพื่อให้มีฤทธิ์ต้าน
เซลล์มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก และ มะเร็งต้านนม พบว่าสารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซีเบอร์
เบอรินบางตัว มีประสิทธิภาพสูงกว่าเบอร์เบอรินในการออกฤทธิ์ด้านเซลล์มะเร็งปอด และ มะเร็งช่อง
ปาก สำหรับฤทธิ์ด้านเซลล์มะเร็งเต้านม สารอนุพันธ์ 13-เอริลอัลคิลีนออกซิเบอร์เบอรินทุกตัว มี
ประสิทธิภาพสูงกว่าเบอร์เบอริน 4-7580 เท่า และสูงกว่ายาต้านมะเร็ง อิลลิบติซินและด๊อกโซรูบิซิน doxorubicine
โดยเฉพาะสารประกอบ 10 มีค่า ซีเล็กติวิตี้ อินเด็กซ์(selectivity index) เท่ากับ 10,000 ซึ่งหมายถึงปริมาณของสาร 10
ที่สามารถต้านเซลล์มะเร็งเต้านมได้มีค่าต่ำมากเมื่อเทียบกับปริมาณของสาร 10 ที่มีผลทำให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์
ปกติ ดังนั้น สาร 10 จึงจัดเป็นสารต้านมะเร็งที่เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งเต้านม และมีความปลอดภัย
สูงต่อเซลล์ปกติ |
|