dc.contributor.author |
จิราภรณ์ วรรณปะเข |
|
dc.contributor.author |
ปฏิเวธ คงไพจิตรวงศ |
|
dc.contributor.author |
สิริพรล อมสมบูรณ์ |
|
dc.contributor.author |
อภิญญา ทองประสาท |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:46Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:46Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/ams/article/view/126649 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25002 |
|
dc.description.abstract |
Smartphone is used widely by children and adults. Previous studies have shown that using smart- phone can lead to certain struggles, especially for university students. However, there has yet to be evaluated on the effect of muscular pain while using smartphone in other age groups. The evidence
gathered from this current study could be useful in preventing adverse health problems caused by
smartphoneusageinallagegroups.The purposeof thestudy was toexamine painat theneck, shoulder,
upper back and arm areas after smartphone use for 20 minutes. Smartphone was used in 3 positions
during the study (on the chest level, on the table, and on the lap). Seventy-five asymptomatic users
aged 10-48 years old were recruited into this study. The participants were assigned to use smartphone
in random orders of each position. Location and severity of pain were measured by using a body pain
chart and visual analog scale (VAS), respectively. The results showed that 1) After smartphoneuse for 20
minutes, pain at the neck, shoulder and upper back areas increased significantly and the pain increased
in all age groups (p-value<0.05). 2) Office workers had higher pain significantly in the neck and shoulder;
higher than high school and elementary school students (p-value<0.05). 3) Neck pain was found 164
times in the overall 225 studies, followed by shoulder, upper back and arm pain. 4) Neck pain showed
the highest severity in the lap position in high school students, whereas it showed the highest severity
of paininthechest positionlevel inelementaryschool studentsand office worker groups.5)Smartphone
use on lap caused the highest number of participants (96-100%) reporting pain in various regions of the
body. In addition, using the device on lap led to the highest intensity of pain in the marked region, and
also the highest pain level, overall. In conclusion: smartphone use caused pain at neck, shoulder and
upper back areas in 3 separate positions in all age groups. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
สมาร์ทโฟน |
|
dc.subject |
ปวดคอ |
|
dc.subject |
นักเรียน |
|
dc.subject |
smartphone |
|
dc.subject |
neck pain |
|
dc.subject |
position |
|
dc.subject |
student |
|
dc.subject |
office worker |
|
dc.title |
การเปรียบเทียบอาการปวดกล้ามเนื้อขณะใช้งานสมาร์ทโฟน
ระหว่าง 3 กลุ่มอายุ: เด็กนักเรียนประถม นักเรียนมัธยม
และผู้ทำงานสำนักงาน |
|
dc.title.alternative |
Comparison of Muscular Pain during Smartphone Use among Three Age Groups:
Elementary School Student, High School Student and Office Worker
Pattariya Intolo |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
เทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด, ปีที่ 30 ฉบับที่ 1
มกราคม - เมษายน 2561 |
|
dc.description.abstractthai |
ปัจจุบัน มีการใช้สมาร์ทโฟนกันอย่างกว้างขวางทั้งในเด็กและผู้ใหญ่จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ขณะใช้งานสมาร์ท
โฟนนั้น ทำให้เกิดอาการปวด ซึ่งเป็นการศึกษาในกลุ่มนิสิตหรือนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ยังไม่มีการศึกษาในช่วง
อายุอื่นๆดังนั้น การศึกษานี้จึงมุ่งศึกษาในกลุ่มอายุอื่นเพิ่มเติมเพื่อเปรียบเทียบ โดยคาดหวังว่าข้อค้นพบที่ได้จะเป็นประโยชน์
ในการป้องกันปัญหาสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้สมาร์ทโฟน วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือเพื่อศึกษาอาการปวดบริเวณ
คอ ไหล่แผ่นหลังส่วนบน และแขน ภายหลังการใช้งานสมาร์ทโฟน 20 นาทีในท่าถือไว้ที่ตัก ระดับอก และวางราบบนโต๊ะ
ในนักเรียนชั้นประถม มัธยม และผู้ทำงานสำนักงาน ที่ไม่มีอาการปวด อายุ10-48 ปีจำนวน 75 คน โดยสุ่มลำดับท่าทาง
การใช้งานสมาร์ทโฟน ประเมินตำแหน่งอาการปวดและระดับความรุนแรงอาการปวด โดย body pain chart และ visual
analog scale (VAS) ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า 1) ภายหลังการใช้งาน 20 นาทีระดับความรุนแรงของอาการปวดคอ
ไหล่และแผ่นหลังส่วนบนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p-value < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนใช้งานในทั้ง3 ท่าทาง
และในทุกกลุ่มอายุ2)กลุ่มทำงาน พนักงานมีระดับความรุนแรงของอาการปวดคอและไหล่สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p-value < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มนักเรียนมัธยมและประถม ตามลำดับ 3) ปวดคอพบบ่อยที่สุดคือ 164 ครั้ง จาก
การใช้งาน 225 ครั้ง รองลงมาคือปวดไหล่แผ่นหลังส่วนบนและแขน ตามลำดับ 4) ระดับความรุนแรงของอาการปวดคอสูง
ที่สุดในท่าถือไว้ที่ตักในกลุ่มนักเรียนมัธยม และท่าถือไว้ระดับอกในนักเรียนประถมและคนทำงานสำนักงาน 5) ท่าถือไว้ที่ตัก
ทำให้มีผู้รายงานอาการปวดเกิดขึ้นบริเวณใดบริเวณหนึ่งสูงที่สุด(96-100%) นอกจากนี้ท่าถือไว้ที่ตักทำให้มีผู้ที่มีอาการปวด
ระดับรุนแรง (intensityof region marked)สูงที่สุดและทให้มีระดับความรุนแรงของอาการปวดสูงสุดและอาการปวดโดย
รวมสูงที่สุดสรุปผลการศึกษาคือขณะใช้งานสมาร์ทโฟนทำให้เกิดอาการปวดคอไหล่แผ่นหลังส่วนบนในทั้ง3กลุ่มอายุและ
3 ท่าทาง |
|