dc.contributor.author |
ภัทธกร บุบผัน |
|
dc.contributor.author |
รัตน์ติพร โกสุวินทร์ |
|
dc.contributor.author |
มณิสรา ชาติกุล |
|
dc.contributor.author |
รุจิรา ต๊ะจันทร์ |
|
dc.contributor.author |
กัญจน์ธรม โลสันเทียะ |
|
dc.contributor.author |
และสุชาดา ข้ามสี่ |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:44Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:44Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://li01.tci-thaijo.org/index.php/jmvm/article/view/113330 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24978 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
Macaca fascicularis |
|
dc.subject |
Prevalence |
|
dc.subject |
Intestinal parasites |
|
dc.subject |
Protozoa |
|
dc.subject |
ลิงหางยาว |
|
dc.subject |
พยาธิในลําไส้ |
|
dc.subject |
โปรโตซัว |
|
dc.title |
การศึกษาความชุกของการติดโรคหนอนพยาธิในลําไส้ของลิงหางยาวเขาสามมุขจังหวัดชลบุร |
|
dc.title.alternative |
Prevalence of Intestinal Helminthic Infection in Population of Long-tailed Macaques (Macaca fascicularis) from Khao Sam Muk, Chonburi Province |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
สัตวแพทย์มหานครสาร. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2
กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 |
|
dc.description.abstractthai |
การติดโรคหนอนพยาธิและเชื้อโปรโตซัวถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขของคนไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อหนอนพยาธิจากสัตว์สู่คนการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของโรคหนอนพยาธิและเชื้อโปรโตซัวในลําไส้จากมูลลิงหางยาวในพื้นที่เขาสามมุขอําเภอเมืองจังหวัดชลบุรีระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนพ.ศ. 2560 ด้วยวิธี Formalin-ethyl acetate sedimentation technique จํานวนตัวอย่างที่ศึกษาทั้งหมด 63 ตัวอย่างพบอัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิและโปรโตซัวในลําไส้บางชนิดเท่ากับร้อยละ 84.1 โดยพบการติดเชื้อพยาธิแส้ม้า (Trichuris trichiura) สูงที่สุด (ร้อยละ 27) นอกจากนี้คือพยาธิปากขอ (Hookworm) (ร้อยละ 25.4) และพบการติดเชื้อโปรโตซัวร้อยละ 73 ได้แก่Entamoeba coli (ร้อยละ 58.7), Entamoeba histolytica (ร้อยละ 22.2), Giardia lamblia (ร้อยละ11.1), Blastocystis hominis (ร้อยละ 9.5) และEndolimax nana (ร้อยละ 6.3) นอกจากนี้ยังพบการติดเชื้อร่วมกันของหนอนพยาธิและโปรโตซัวร้อยละ 58.7 จากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าลิงหางยาวเป็นโฮสต์กักตุนโรคหนอนพยาธิที่สําคัญหลายชนิด |
|