dc.contributor.author |
สายธิดา ลาภอนันตสิน |
|
dc.contributor.author |
วิภาดา อินทร์แก้ว |
|
dc.contributor.author |
กัญญาณัฐ ละออทรัพย์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:44Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:44Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjpt/article/view/112250 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24968 |
|
dc.description.abstract |
Background: Massage is a popular technique to increase peripheral blood flow. However, no evidence that compared appropriate massage duration for improving peripheral blood flow.
Objectives: To investigate the immediate effects of massage at various time points on peripheral blood flow and skin temperature of foot.
Methods: The study is a time series research design. Thirty healthy volunteers aged 21.97±1.07 years received the Swedish massage at right lower leg and foot for 40 minutes in controlled-temperature room at 24-26°c. Ankle systolic blood pressure of Dorsalis pedis (aSBPd) and Posterior tibial artery (aSBPp), ankle brachial index (ABI), and skin temperature (T) of foot were measured before massage and every 10 minutes. Data were analyzed by one-way repeated measure ANOVA and Bonferoni test, except aSBPd and aSBPp were analyzed by Friedman test and Wilcoxon signed rank test.
Results: The time effect of massage was significantly detected on aSBPd (p = 0.001), aSBPp (p = 0.024) and ABI (p=0.002,), but not on a foot skin temperature. The aSBPd and aSBPp at 20, 30, and 40 minutes during massage significantly increased when compared to before massage while ABI significantly increased than before massage just only at 20 and 30 minutes during massage (P<0.01).
Conclusion: Massage (discontinuously or pause every 10 minutes) for 20 minutes or more may increase peripheral blood flow to the foot by increase the blood pressure gradient. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
ankle brachial index |
|
dc.subject |
blood pressure |
|
dc.subject |
massage |
|
dc.subject |
blood flow |
|
dc.subject |
การนวด |
|
dc.title |
ระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการนวดเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดส่วนปลายและอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้ |
|
dc.title.alternative |
Appropriate duration for massage to increase peripheral blood flow and skin temperature of foot |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารกายภาพบำบัด, Vol. 39 No. 1 (2017): January-April 2017 |
|
dc.description.abstractthai |
ที่มาและความสำคัญ: การนวดเป็นวิธีการรักษาชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมในการเพิ่มการไหลเวียนเลือดส่วนปลาย อย่างไรก็ตาม ไม่พบการศึกษาใดระบุชัดเจนถึงระยะเวลาที่เหมาะสมของการนวดที่เพิ่มการไหลเวียนเลือดส่วนปลาย
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลทันทีของการนวดที่ขาและเท้า ณ ระยะเวลาต่างๆ ต่อการไหลเวียนเลือดส่วนปลายและอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้า
วิธีการ: รูปแบบการวิจัยคือ time series research design โดยวิจัยในกลุ่มอาสาสมัครหนุ่มสาวสุขภาพดี 30 คน อายุเฉลี่ย 21.97 ± 1.07 ปี ได้รับการนวดแบบสวีดิชที่บริเวณปลายขาและเท้าด้านขวาเป็นเวลา 40 นาที ในห้องควบคุมอุณหภูมิที่ 24-26 องศาเซลเซียส ค่าตัวแปรที่ต้องการศึกษา ก่อนและหลังได้รับการนวดทุก 10 นาที ได้แก่ ค่าความดันโลหิตที่เส้นเลือดแดงบริเวณข้อเท้าdorsalis pedis (aSBPd) และ posterior tibial (aSBPp) ค่าดัชนีความดันโลหิตบริเวณข้อเท้าเมื่อเทียบกับแขน (ABI) และอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้า (T) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติของค่า ABI และ T ใช้ One-way repeated measures ANOVA และการทดสอบ Bonferroni ส่วนค่า aSBPd และ aSBPp วิเคราะห์ด้วยการทดสอบ Friedman และการทดสอบ Wilcoxon signed rank
ผลการศึกษา: พบว่าระยะเวลาการนวดมีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อค่า aSBPd (p = 0.001), aSBPp (p = 0.024) และ ค่า ABI (p = 0.002) แต่ไม่มีผลต่ออุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้าโดยพบว่าค่า aSBPd และ aSBPp ณ เวลา 20, 30 และ 40 นาที หลังนวดสูงกว่าก่อนการนวดอย่างมีนัยสำคัญ( p <0.01) และพบว่าค่า ABI ณ เวลา 20 และ 30 นาทีเท่านั้น ที่มีค่าสูงกว่าก่อนได้รับการนวดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01)
สรุปการศึกษา: การนวดขาและเท้า (อย่างไม่ต่อเนื่องโดยมีการหยุดเป็นระยะทุก 10 นาที) เป็นระยะเวลาตั้งแต่ 20 นาทีขึ้นไปอาจส่งผลเพิ่มการไหลเวียนเลือดส่วนปลายสู่บริเวณเท้า โดยการเพิ่มความต่างของแรงดันภายในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ |
|