dc.contributor.author |
ชุติพงษ์ เติมเพ็ชร |
|
dc.contributor.author |
สุวัฒน์ จิตรดำรงค์ |
|
dc.contributor.author |
มีน พรหมมนตรี |
|
dc.contributor.author |
สุวิรา วงษ์ชื่น |
|
dc.contributor.author |
อรอุมา ถานทองดี |
|
dc.contributor.author |
ประภาวดี ภิรมย์พล |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:43Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:43Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjpt/article/view/113640 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24954 |
|
dc.description.abstract |
Background:Breathing exercise has been well received alternative intervention to lower blood pressure in patients with hypertension and prehypertension. However, the efficiency between slow breathing exercise and diaphragmatic breathing exercise in patients with prehypertension remain inconclusive.Objectives:To compare the efficiency between slow breathing and diaphragmatic breathing techniques in lowering blood pressure in patients with prehypertension.Methods:This study was Quasi-experimental design with double blind control trial. Twenty-seven subjects (ages 18-22 years) with pre-hypertension (SBP: 120-139 mmHg; DBP: 80-89 mmHg) were divided into three intervention groups; slow breathingat 6 beat per minute (n=9), diaphragmatic breathing at 6 beat per minute (n=9) and control (n=9) groups. We evaluated the changes of all non-invasive blood pressure parameters; systolic blood pressure (SBP), diastolic blood pressure (DBP), heart rate (HR), mean arterial blood pressure (MAP), pulse pressure (PP), and Srithanya stress scale (ST-5) after acute phase and two weeks of breathing training.Results:SBP in diaphragmatic breathing group was lower than in control group both acute phase (p = 0.02) and after two weeks of training (p = 0.006). No statistically differences in other parameters were found in diaphragmatic and slow breathing groups compared to control group.Conclusion:Diaphragmatic breathing is more effective in lowering SBP than in slow breathing exercise in pre-hypertensive subjects aged 18-22 years old in both acute phase and after two weeks of training. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
Prehypertension |
|
dc.subject |
Slow breathing |
|
dc.subject |
Diaphragmatic breathing |
|
dc.subject |
Systolic blood pressure |
|
dc.title |
การศึกษานำร่อง: เทคนิคการฝึกหายใจแบบใช้กล้ามเนื้อกระบังลม มีประสิทธิภาพในการลดความดันซีสโตลิก เมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการหายใจแบบช้า ในกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงวัยหนุ่มสาว |
|
dc.title.alternative |
Pilot study: Diaphragmatic Breathing Technique is Effective in Lowering Systolic Blood Pressure Compared with Slow Breathing Technique in Young Adult with Prehypertension |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (2016): พฤษภาคม-สิงหาคม 2559 |
|
dc.description.abstractthai |
ที่มาและความสำคัญ:การฝึกหายใจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับการลดความดันโลหิต แต่ยังไม่มีการศึกษาใดเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการฝึกหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลมกับการฝึกหายใจแบบช้ํา ในกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการลดความดันโลหิตของเทคนิคการฝึกหายใจแบบช้ําและเทคนิคการฝึกหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลม ในกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงวิธีการ:รูปแบบการศึกษาเป็นแบบ Quasi-experimental design with double blind control trial โดยศึกษําในอําสําสมัครกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง (SBP: 120-139 mmHg; DBP: 80-89 mmHg) จ ํานวน 27 คน อายุ 18-22 ปีแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มฝึกการหายใจที่ใช้กล้ามเนื้อกระบังลมที่ 6 ครั้งต่อนาที (n=9), กลุ่มฝึกการหายใจแบบช้ําที่ 6 ครั้งต่อนาที (n=9), และกลุ่มควบคุม (n=9) ประเมินค่าที่เปลี่ยนแปลงของ Systolic bloodpressure (SBP), Diastolic blood pressure (DBP), Heart Rate(HR), Mean arterial pressure (MAP) และ Pulse pressure (PP), และ คะแนนความเครียด (Srithanya stress scale; ST-5) หลังจากการหายใจในทันทีและภายหลังการฝึกเป็นระยะเวลา 2สัปดาห์ ผลการศึกษา: เฉพาะการหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลมที่สามารถลด SBP อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อ เทียบกับกลุ่มควบคุมทั้งในระยะเฉียบพลัน (p=0.02) และภายหลังการฝึกเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ (p=0.006) แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของการเปลี่ยนแปลง DBP, HR, MAP, และ PP สรุปการศึกษา: การหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลมมีประสิทธิภาพในการลดความดันโลหิต SBP ได้ดีกว่าการหายใจแบบช้ําทั้งในระยะเฉียบพลันและภายหลังการฝึกหายใจเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ในกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง อายุ 18-22ปี |
|