dc.contributor.author |
สุภัทรา ผาคํา |
|
dc.contributor.author |
วนิดา วิลาชัย |
|
dc.contributor.author |
กัญจน์ ศิลป์ประสิทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
ศิริกุล ธรรมจิตรสกุล |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:43Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:43Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JHR/article/view/56561 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24934 |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this research were to study the quality of domestic main water and the water of Nakornayok
river, and to compare waterborne diseases to water consumption behaviors of thirty-one subjects in Moo 7 community, Bangluksua sub-district, Ongkarak district in Nakornayok province. The quality of the domestic main water determined by chemical and microbiology method showed the normal standard values of pH and dissolved oxygen (DO), but 58.1 % and 45.2 % of households showed that coliform bacteria contamination in domestic main water were above normal standard. Similarly, coliform bacteria contamination in Nakornayok river was above standard and DO values were below standard, whereas pH values were in normal range. These results were confirmed by bio indicators. A total of 26 benthos from 5 families in 5 orders were obtained. The most abundant benthos was Palaemonidae family in Decapoda order. The score of BMWPTHAI and ASPTTHAI showed the water quality in moderate pollution level and the ShannonWiener index indicated poor to moderate water quality.Furthermore, the consuming water from Nakornayok river for drinking and cooking, and farm household was significantly correlated with diarrheal illness (p = 0.032 and 0.048,respectively). In addition, using water for transportation was correlated with contact dermatitis (p = 0.027) |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
คุณภาพน้ำ |
|
dc.subject |
โรคที่มีน้ำเป็นสื่อ |
|
dc.subject |
พฤติกรรมการใช้น้ำ |
|
dc.subject |
ชุมชน |
|
dc.title |
การศึกษาโรคที่มีน้ำเป็นสื่อจําแนกตามพฤติกรรมการใช้น้ำของประชาชนในชุมชน หมู่ที่ 7 ตําบลบางลูกเสือ อําเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก |
|
dc.title.alternative |
A study of waterborne diseases classified to water consumption behaviors in Moo 7community, Bangluksua sub-district, Ongkharak district, Nakhonnayok province |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม - ธันวาคม ปี 2558 |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพน้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค แม่น้ำนครนายก และเปรียบเทียบโรคที่มีน้ำเป็นสื่อซึ่งจำแนก
ตามพฤติกรรมการใช้น้ำของอาสาสมัครในชุมชนหมู่ที่ 7 ตำบลบางลูกเสือ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก จำนวน 31 คน โดยตรวจวัดคุณภาพ
น้ำอุปโภคบริโภคด้วยวิธีทางเคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้ำอุปโภคบริโภคมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) และมีค่าปริมาณออกซิเจนที่
ละลายอยู่ในน้ำ (DO) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 58.1 และ 45.2 ของครัวเรือน มีปริมาณแบคทีเรียกลุ่มคลอโรฟอร์มในน้ำอุปโภคบริโภค
เกินเกณฑ์มาตรฐาน ทำนองเดียวกันแม่น้ำนครนายกมีปริมาณแบคทีเรียกลุ่มคลอโรฟอร์มเกินเกณฑ์มาตรฐานและมีค่า DO ต่ำกว่ามาตรฐาน
แต่มีค่า pH อยู่ในเกณฑ์ปกติ เมื่อยืนยันคุณภาพน้ำของแม่น้ำนครนายกด้วยตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ พบสัตว์หน้าดิน จำนวน 26 ตัว ใน 5 อันดับ
5 วงศ์ สัตว์หน้าดินที่พบมากที่สุด คือ กุ้งน้ำจืด อยู่อันดับ Decapoda วงศ์ Palaemonidae โดยค่าดัชนีชีวภาพ (BMWPTHAI และ
ASPTTHAI) บ่งชี้ว่าน้ำอยู่ในเกณฑ์คุณภาพปานกลางและค่า Shannon-Wiener index บ่งชี้ว่าน้ำอยู่ในเกณฑ์สกปรกถึงปานกลาง และพบว่า
อาสาสมัครที่ใช้น้ำจากแม่น้ำนครนายกเพื่อการบริโภค เช่น การดื่มและการประกอบอาหาร และการใช้น้ำเพื่อการเกษตร สวนครัวและ เลี้ยงสัตว์
มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคอุจจาระร่วงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.032 และ 0.048 ตามลำดับ) และอาสาสมัครที่ใช้น้ำจากแม่น้ำ
นครนายกเพื่อการคมนาคมมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคผิวหนังจากผื่นแพ้สัมผัสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.027) |
|