dc.contributor.author |
สายธิดา ลาภอนันตสิน |
|
dc.contributor.author |
วาสนา เตโชวานิชย์ |
|
dc.contributor.author |
พันพิสสา ณ สงขลา |
|
dc.contributor.author |
ยุพารัตน์ อดกลั้น |
|
dc.contributor.author |
สุนันทา วีขำ |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-07T08:17:42Z |
|
dc.date.available |
2022-09-07T08:17:42Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjpt/article/view/114093 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24927 |
|
dc.description.abstract |
Objective: Promoting balance performance of elderly women to prevent falls is very important. This study aimed to follow up the effects of a proactive community-based service, by using a small group discussion with workshop practice of a home-based balance training program, on balance performances and fear of falls(FoF) of elderly women on the 4thweek (wk4) after the service. Methods:Data collected from balance promotingservice fortheelderly women living in Ongkharak and Bang-lookseirsubdistrics, Nakhonnayok, Thailand were analyzed. The data included of balance performances measured by Berg balance scale (BBS), functional reach test (FRT) and timed up and go test (TUG), and FoFevaluated by Thai geriatric fear of falling questionnaire before (wk0) and after the service on wk4. All parameters of wk0 were compared with that of wk4 by paired t-test. Results:Fifty women,aged 60-85 years (mean± SD, 71.06+6.96 years),attended the service andvolunteered to be re-evaluatedtheir balance performances and FoF on wk4 following self-exercisebythehome-based program for balance training of the service. On wk4, the elderly women significantlydemonstrated the better balance performances assessed by BBS, FRTand TUG(p=0.001,p=0.05andp=0.001respectively),and showed a lesser FoFcompared to wk0 significantly(p=0.001).Conclusion:The proactive community-based service of this study, implemented bya small group discussion with practical workshop of home-based balance training program, was an available balance promotion modelof the service for elderly women in community because it improved balance performances and reduced FoF of the elders. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.subject |
geriatric |
|
dc.subject |
self-exercise |
|
dc.subject |
balance training |
|
dc.subject |
balance performance |
|
dc.subject |
fear of fall |
|
dc.title |
การพัฒนาสมรรถภาพการทรงตัวและความกลัวการล้มของผู้สูงอายุหญิงในตำบลองครักษ์และบางลูกเสือจังหวัดนครนายกด้วยการบริการวิชาการชุมชน |
|
dc.title.alternative |
Balance performance and fear of fall improvementfor elderly women living in Ongkharak and Bang-lookseirsubdistrictof Nakhonnayok provinceby a community-based service |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารกายภาพบำบัด ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (2015): พฤษภาคม-สิงหาคม 2558 |
|
dc.description.abstractthai |
วัตถุประสงค์: การส่งเสริมสมรรถภาพการทรงท่าเพื่อป้องกันการล้ม มีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุเพศหญิงซึ่งพบว่ามีความสี่ยงต่อการล้มมากกว่าชาย การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประสิทธิผลของการให้บริการวิชาการสร้างเสริมสมรรถภาพการทรงท่าแก่ผู้สูงอายุหญิงในชุมชนด้วยการจัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มย่อยร่วมกับการสอนการปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยตนเองที่บ้านเพื่อฝึกพัฒนาความสามารถในการทรงตัวแก่ผู้สูงอายุ และติดตามผลความสามารถในการทรงตัวและความกลัวการล้มของผู้สูงอายุ หลังจากเข้าร่วมโครงการแล้ว
ร่วมกิจกรรมกลุ่มที่นำโดยนักกายภาพบำบัด เพื่อเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับสาเหตุและความสำคัญของการทรงตัวสำหรับผู้สูงอายุและเรียนรู้วิธีการปฏิบัติตามโปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาการทรงตัวด้วยตนเองที่บ้าน ผลการประเมินความสามารถในการทรงตัวและความกลัวการล้มในสัปดาห์ที่ 4 พบว่า ผู้สูงอายุมีความสามารถในการทรงตัวเมื่อประเมินด้วย BBS, FRT และ TUGดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.001, p=0.05 และ p=0.001 ตามลำดับ) และมีความกลัวการล้มลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.001)
สรุปผล: โครงการบริการวิชาการชุมชนเชิงรุกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทรงตัวสำหรับผู้สูงอายุ ด้วยกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มย่อยร่วมกับการสอนวิธีการปฏิบัติการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาการทรงตัวด้วยตนเองที่บ้าน และนัดติดตามผลใน 4 สัปดาห์ สามารถใช้เป็นรูปแบบของการบริการส่งเสริมสมรรถภาพการทรงตัวสำหรับผู้สูงอายุในชุมชนได้ เนื่องจากสามารถช่วยให้ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุดีขึ้นและมีความกลัวการล้มลดลง
วิธีการวิจัย: รวบรวมข้อมูลผลประเมินความสามารถในการทรงตัวและความกลัวการล้ม (FoF) ของอาสาสมัครผู้สูงอายุในตำบลองครักษ์และบางลูกเสือ จังหวัดนครนายก ทั้งก่อนเข้าร่วม (wk0) และ สัปดาห์ที่ 4 หลังเข้าร่วมโครงการ(wk4) โดยประเมินความสามารถในการทรงตัวด้วย Berg balance scale (BBS), functional reach test (FRT) และ timed up and go test (TUG) ส่วน FoFประเมินด้วย Thai geriatric fear of falling questionnaire และเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างก่อนและหลังเข้าร่วมด้วยสถิติ paired t-test ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุหญิงจำนวน 50 คน อายุ60-85 ปี (อายุเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 71.06+6.96 ปี) อาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ โดยเข้า |
|