DSpace Repository

ศึกษาการผลิตแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดแบบไร้สารยึดเกาะจากฟางข้าวผสมกับกาบกล้วยน้ำว้า

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์
dc.contributor.advisor ปณิธาน วนากมล
dc.contributor.author ณัฏฐ์นรี ศโรภาส
dc.contributor.author ประพาภรณ์ หัวใจสุทธิ์
dc.contributor.author โศรดา นรทัด
dc.date.accessioned 2022-08-22T03:13:55Z
dc.date.available 2022-08-22T03:13:55Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24803
dc.description.abstract The particleboards currently being used are manufactured with synthetic adhesives containing formaldehyde. It is a substance that is harmful to health and has a negative impact on the environment. Therefore, the development of a binderless particleboard is interesting. The adhesion properties of the lignocellulose material in agricultural waste have been used to develop environmentally friendly products. This research aims to develop binderless particleboard using agricultural waste materials such as rice straw and banana psuedostem. These raw materials are abundant, easy to grow and fast growing. This research explored the feasibility of using rice straw and banana psuedostem to produce binderless particleboards. The optimal preparation conditions for production were carried out using the ratio of rice straw to banana psuedostem at 100:0, 75:25, 50:50, 25:75 and 0:100, pressing temperatures of 140, 160 and 180 °C, compression times of 10 and 30 minutes and pressure of 5 MPa. The mechanical modulus of rupture (MOR) and modulusof elasticity (MOE) and physical properties density moisture content and thickness swelling (TS) of particleboard were investigated. Morphological analysis was studied by scanning electron microscopy (SEM). It was found that it is possible to produce particleboard from rice straw and banana psuedostem. The optimum preparation condition was are with the ratio of rice straw to the banana psuedostem at 0:100 and pressing temperature at 180 °C for 30 minutes. The high percentage of banana psuedostem, high temperature and long compression time resulted in good density, mechanical properties, and adhesion. These properties will decrease when the proportion of the banana psuedostem decreases. due to the higher content of holocellulose and lignin in the banana psuedostem. Binderless particleboard with a high percentage of banana psuedostem, high temperature and compression time will result in lower moisture content of the particleboard. The 100 percent rice straw binderless particleboard in all temperatures and hot-pressing periods provide optimum humidity.
dc.language.iso th
dc.publisher ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.title ศึกษาการผลิตแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดแบบไร้สารยึดเกาะจากฟางข้าวผสมกับกาบกล้วยน้ำว้า
dc.title.alternative Study on Production of Binderless Particleboard from Rice Straw Mixed with Banana Pseudostem
dc.type Working Paper
dc.subject.keyword แผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดแบบไร้สารยึดเกาะ
dc.subject.keyword ฟางข้าว
dc.subject.keyword กาบกล้วยน้ําว้า
dc.subject.keyword วัสดุลิกโนเซลลูโลส
dc.subject.keyword Binderless Particleboard
dc.subject.keyword Rice Straw
dc.subject.keyword Banana Pseudostem
dc.subject.keyword Lignocellulose Materials
dc.description.abstractthai แผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดที่ใช้อยู้ในปัจจุบันถูกผลิตขึ้นด้วยกาวสังเคราะห์ที่มีสารฟอร์มาลดีไฮด์ ซึ่งถือเป็นสารที่มีความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการพัฒนาแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ด แบบไร้สารยึดเกาะจึงเป็นที่น่าสนใจ โดยสมบัติการยึดเกาะจากวัสดุลิกโนเซลลูโลสที่มีอยู่ในวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรได้ถูกนํามาใช้เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา แผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดแบบไร้สารยึดเกาะโดยใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ฟางข้าวและกาบกล้วยน้ําว้า ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้มีอยู่ปริมาณมาก ปลูกง่าย และเติบโตเร็ว งานวิจัยนี้ศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ฟางข้าว และกาบกล้วยน้ําว้าในการนํามาผลิตเป็นแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดแบบไร้สารยึดเกาะ ศึกษาสภาวะการเตรียมที่ เหมาะสมสําหรับการผลิตโดยใช้อัตราส่วนของฟางข้าวต่อกาบกล้วยน้ําว้า 100:0, 75:25, 50:50, 25:75 และ 0:100 อุณหภูมิการอัด 140 160 และ 180 องศาเซลเซียส ระยะเวลาการอัด 10 และ 30 นาที ให้แรงดันใน การอัด 5 MPa การศึกษาสมบัติทางกลและทางกายภาพของตัวอย่างชิ้นทดสอบแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ด ประกอบด้วยการทดสอบทางกลเพื่อหาค่าความต้านแรงดัด (MOR) มอดุลัสยืดหยุ่น (MOE)การทดสอบทาง กายภาพเพื่อหาความหนาแน่น ปริมาณความชื้น และการพองตัวตามความหนา (TS) รวมถึงมีการวิเคราะห์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบบส่องกราด (SEM) จากการทดสอบพบว่า มี ความเป็นไปได้ในการนําฟางข้าวและกาบกล้วยน้ำว้ามาทําการอัดขึ้นรูปด้วยความร้อนเพื่อผลิตเป็นแผ่นปาร์ติ เกิลบอร์ด โดยมีสภาวะการเตรียมที่เหมาะสมที่อัตราส่วนของฟางข้าวตอกาบกล้วยน้ําว้า คือ 0:100 และ อุณหภูมิการอัดร้อนที่เหมาะสม คือ 180 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 30 นาที โดยสัดส่วนของกาบกล้วย น้ําว้าที่มาก อุณหภูมิการอัดสูง และระยะเวลาการอัดที่นานจะทําให้แผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดมีความหนาแน่น สมบัติเชิงกล และการยึดติดที่ดีซึ่งสมบัติดังกล่าวจะลดลงเมื่อสัดส่วนของกาบกล้วยน้ําว้าลดลง เนื่องจากกาบ กล้วยน้ําว้ามีปริมาณของโฮโลเซลลูโลสและลิกนินที่มากกว่า นอกจากนี้แผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดที่มีสัดส่วนของกาบ กล้วยน้ําว้า อุณหภูมิการอัด และระยะเวลาการอัดที่สูงจะส่งผลให้ความชื้นของแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดมีค่าต่ําลง ซึ่งมีเพียงแผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดที่มีอัตราส่วนของฟางข้าวต่อกาบกล้วยน้ําว้า 100:0 ในทุกช่วงอุณหภูมิและ ระยะเวลาการอัดร้อนที่มีความชื้นอยู่ในระดับที่เหมาะสม


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics