DSpace Repository

อิทธิพลของสารเติมแต่งประเภทกัมในการชุบนิเกิลด้วยไฟฟ้า

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์
dc.contributor.author ชัญญานุช แสนทวีสุข
dc.contributor.author ดวงตา สิทธิโชคเจริญ
dc.contributor.author มนัสวี มณีกัญย์
dc.date.accessioned 2022-08-22T03:13:54Z
dc.date.available 2022-08-22T03:13:54Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24794
dc.description.abstract Presently, Low carbon steel is widely used in various industries. However, Low carbon steel has low corrosion resistance. Corrosion affects safety issues and may result in reduction of service lifetime. One way to prevent this is by electroplating, nickel electroplating is the most common and frequently used in electroplating processes. It is generally enhanced with additives. Gum is used as an additive for preventing corrosion. Gum is also easy to find and cheap. In this research work, the effect of adding gelatin, gum arabic and guar gum in a nickel electroplating bath at 5V for 25 minutes was investigated. SS400 low carbon steel was prepared as a substrate. The morphology of surface coating was also characterized by Scanning Electron Microscopy (SEM). It was found that an average thickness of nickel coating is 45.791±2.538 μm. Nickel plating with gum additives showed higher hardness than the one without additive. The hardness of nickel plating with gum arabic is about 357±6.08 HV. Its morphology is smooth while morphologies of nickel plating with gelatin and guar gum are uneven or crack. As a result of lower hardness. Gum additives affect the color of the samples. The effect of corrosion was examined by using the immersion in 3.5% NaCl solution for 24 days. Conclusion, using gum additives into the in nickel plating bath provides low a corrosion rate compared to nickel plating without additives. Nickel plating withgum arabic demonstrated the lowest corrosion rate compared to other additives.
dc.language.iso th
dc.publisher ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.title อิทธิพลของสารเติมแต่งประเภทกัมในการชุบนิเกิลด้วยไฟฟ้า
dc.title.alternative Effect of Gum Additives on Nickel Electroplating
dc.type Working Paper
dc.subject.keyword ชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้า
dc.subject.keyword นิกเกิล
dc.subject.keyword สารเติมแต่งประเภทกัม
dc.subject.keyword อ่างวัตต์
dc.subject.keyword การกัดกร่อน
dc.subject.keyword Electroplating
dc.subject.keyword Nickel
dc.subject.keyword Gum additives
dc.subject.keyword Watts bath
dc.subject.keyword Corrosion
dc.description.abstractthai ในปัจจุบันเหล็กกล้าคาร์บอนต่ํามีการใช้งานมากในอุตสาหกรรมต่าง ๆ แต่มักมีความต้านทาน การกัดกร่อนค่อนข้างต่ํา และการกัดกร่อนที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัย และมีระยะในการใช้ งานที่สั้นลง วิธีหนึ่งในการป้องกันการกัดกร่อนในเหล็กกล้า คือการชุบเคลือบด้วยไฟฟ้า ซึ่งการชุบนิกเกิล เป็นที่นิยม และมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง โดยทั่วไปอ่างชุบนิกเกิลจะเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการเติม สารเติมแต่ง สารเติมแต่งประเภทกัมเป็นทางเลือกในการป้องกันการกัดกร่อน อีกทั้งยังหาได้ง่ายและราคา ไม่แพง ดังนั้นในงานวิจัยนี้ทําการศึกษาผลของการเติมเจลาติน กัมอะราบิกและกัวกัม ลงในอ่างชุบนิกเกิล และได้ทําการเคลือบลงบนเหล็กกล้าคาร์บอนต่ํา SS400 ภายใต้แรงดันไฟฟ้า 5 โวลต์ เป็นเวลา 25 นาที จากนั้นทําการวิเคราะห์ผิวเคลือบที่ได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่ามีความหนา เฉลี่ยของผิวเคลือบเท่ากับ 45.791±2.538 ไมโครเมตร ผิวเคลือบที่ได้จากอ่างชุบนิกเกิลที่เติมสารเติมแต่ง ประเภทกัม มีค่าความแข็งเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผิวเคลือบที่ได้จากอ่างชุบนิกเกิลที่ไม่เติมสารเติมแต่ง ซึ่งผิวเคลือบที่ได้จากอ่างชุบนิกเกิลที่เติมกัมอะราบิก มีความแข็งสูงถึง 357±6.08 HV สัณฐานวิทยามี พื้นผิวเรียบสม่ําเสมอ ในขณะที่ผิวเคลือบชิ้นงานที่ได้จากอ่างชุบนิกเกิลที่เติมเจลาตินและจากอ่างชุบ นิกเกิลที่เติมกัวกัม มีสัณฐานวิทยาของพื้นผิวไม่สม่ําเสมอหรือมีรอยแตก ส่งผลให้มีค่าความแข็งที่ต่ํากว่า การเติมสารเติมแต่งประเภทกัมส่งผลต่อสีของชิ้นงาน หลังจากนั้นศึกษาพฤติกรรมการกัดกร่อน ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น 3.5% โดยใช้เทคนิคการจุ่มแช่ เป็นระยะเวลา 24 วัน ซึ่งเห็น ได้ชัดว่าเมื่อเติมสารเติมแต่งประเกมกัมส่งผลให้มีอัตราการกัดกร่อนน้อย เมื่อเทียบกับไม่เติมสารเติมแต่ง ชิ้นงานที่ชุบเคลือบผิวในอ่างชุบนิกเกิลที่มีการเติมกัมอะราบิก มีอัตราการกัดกร่อนน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับ สารเติมแต่งอื่น


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics