dc.description.abstract |
The purpose of this study is to examine what happened once strontium aluminate
(SrAl2O4) powder was mixed with copper (Cu) powder to enhance a phosphorescence and
tarnish resistance properties of the samples. The samples were fabricated by using the
compression molding technique and then sintered in argon atmosphere. Phosphorescence,
hardness, microstructure, tarnish resistance and XRD were studied. In the process of the
compression molding, the 4 samples of 100, 90, 80 and 70 percent by weight of copper
powder, were mixed with 0, 10, 20 and 30 percent by weight of strontium aluminate, and
called chronologically sample A (Cu100), B (Cu90), C (Cu80) and D (Cu70). Polyvinyl alcohol
(PVA) was used as a binder and mixed with copper and strontium aluminate powder to
produce the green specimens using a hydraulic machine. Then, the green samples were
sintered at 900 °C for one hour. Consequently, PVA was eliminated and the samples became
denser. After Vickers hardness testing, it was found that the hardness of sample A (30.5 HV) is
higher than that of sample B (12.84 HV). Furthermore, sample B, C and D containing strontium
aluminate were phosphorescent under ultraviolet at 517 nm. Sample D (Cu70) with the largest
amount of strontium aluminate has higher phosphorescence than sample B(Cu90). In sulfur
atmosphere, the tarnish resistance was found to be improved when strontium aluminate was
added into copper. The color changing of sample A(Cu100), which has no strontium aluminate,
was higher than that of sample B, C and D. Sample D(Cu70), containing the highest amount of
strontium aluminate, has the least color changing on its surface resulting in the resistance in
tarnishing. The analysis of composition of the samples with strontium aluminate addition in
several ratios could be 2 types of oxide compounds as follows: strontium aluminate oxide,
SrAl4O7 and tetra strontium tetra deca aluminum oxide (SrO)4(Al2O3)7. |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเติมสารเรืองแสงชนิดสตรอนเชียมอะลูมิเนตลงในโลหะทองแดง โดย
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขึ้นรูปวัสดุผงโลหะทองแดงที่เติมผงสารสตรอนเชียมอะลูมิเนตด้วยวิธีการอัดขึ้นรูป
เพื่อศึกษาโครงสร้างจุลภาค สมบัติทางกลด้านความแข็ง ความสามารถในการเรืองแสง การต้านทานการหมอง
และเทคนิควิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ (XRD) ของโลหะทองแดงหลังจากเติมสารสตรอนเชียม
อะลูมิเนต โดยในการทดลองมีการใช้วัสดุผงโลหะทองแดงตั้งแต่ 70, 80, 90 และ 100 เปอร์เซ็นต์โดยน้ําหนัก
กับปริมาณของผงเรืองแสงชนิดสตรอนเชียมอะลูมิเนตตั้งแต่ 30, 20, 10 และ 0 เปอร์เซ็นต์โดยน้ําหนัก ใช้
ตัวเชื่อมประสานด้วยโพลิไวนิลแอลกอฮอล์เพื่อทําให้ผงโลหะทองแดงกับผงสตรอนเชียมอะลูมิเนตเชื่อมติดกัน
โดยการเผาผนึกที่อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส เป/นเวลา 1 ชั่วโมง ภายใต้แก๊สอาร์กอน หลังจากเผาผนึกแล้ว
จะเป็นการกําจัด PVA และทําให้ความหนาแน่นของชิ้นงานเพิ่มมากขึ้น โดยสรุปผลการทดสอบมีชิ้นงานที่ถูก
ทดสอบ 4 ชิ้นงาน คือ A, B, C และ D ผลการทดสอบสมบัติทางกลด้านความแข็งพบว่าชิ้นงาน A (Cu100)
มีความแข็งมากที่สุด คือ 30.50 HV ผลการทดสอบความสามารถในการเรืองแสงโดยใช้คลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต
(UV) ที่ 390 นาโนเมตร ชิ้นงานที่เติมสตรอนเชียมอะลูมิเนตจะปลดปล่อยคลื่นแสงออกมาที่ 517 นาโนเมตร
โดยชิ้นงาน D (Cu70) จะเรืองแสงดีที่สุด และชิ้นงาน B (Cu90) จะเรืองแสงน้อยที่สุด ผลการทดสอบความ
ต้านทานการหมองพบว่าชิ้นงาน D (Cu70) ต้านทานการหมองได้ดีที่สุดจากการวัดค่าสีที่เปลี่ยนแปลงบนพื้นผิว
บนชิ้นงานซึ่งเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด และชิ้นงาน A (Cu100) เกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด ซึ่งไม่สามารถ
ต้านทานการหมองได้การวิเคราะห์องค์ประกอบของชิ้นงานที่มีการเติมสตรอนเชียมอะลูมิเนตตามอัตราส่วน
ต่าง ๆ จะมีการเกิดออกไซด์ของสตรอนเชียมอะลูมิเนต 2 ชนิด คือ สตรอนเชียมอะลูมิเนียมออกไซด์ SrAl4O7
และเตตระสตรอนเชียมเตตระเดคะอะลูมิเนียมออกไซด์ ((SrO)4(Al2O3)7) |
|