dc.contributor.advisor |
ปณิธาน วนากมล |
|
dc.contributor.advisor |
สุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์ |
|
dc.contributor.author |
พิมพ์ตะวัน แสงจันทร์ทิพย์ |
|
dc.contributor.author |
ชุติมณฑน์ พงษ์ศิริ |
|
dc.contributor.author |
เอื้อกานต์ บุญคช |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-22T03:13:54Z |
|
dc.date.available |
2022-08-22T03:13:54Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24792 |
|
dc.description.abstract |
Fibroin, derived from cocoon, is a natural polymer used widely and increasingly in various
fields. In recent years, the development of fluorescent fibroin has gained attention in the field
of tissue engineering, because of its biocompatibility, oxygen/water vapor permeability, adaptive
biodegradability, and ability to be tested non-invasively. In this work, silk fibroin and fluorescent
silk fibroin fibers were fabricated via electrospinning, a simple process through which continuous
submicron fibers can be produced. Degummed fibroin was extracted by dissolving in a calcium
chloride solution. The fibroin powder was dissolved in 98% formic acid to form 10, 12 and
14 wt.% solutions. Fluorescent fibroin solutions were achieved with addition of fluoresceine
sodium (FS) as fluorescent dye. The fluorescent solutions were prepared at 10 wt% fibroin with
varying FS concentration at 0.1, 0.3 and 0.5 wt% and at varying 0.5 wt% FS with fibroin
concentration at 10, 12, 14 wt%. The fibroin solutions were fabricated into fibers
via electrospinning. The applied voltage at 20 kV. The surface morphology of silk fibroin fibers
and fluorescent fibroin fibers, observed by scanning electron microscope (SEM) , showed long
continuous fibers. The average fiber diameter, in sub-micron range, was found to increase with
fibroin concentration. The fluorescence intensity observed by fluorescence spectrophotometer
was found to increase with decreasing fluorescent dye concentration. The functional groups and
chemical structure of silk fibroin fibers analyzed by infrared spectroscopy (IR) were not affected
by the addition of fluorescent dye. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.title |
การขึ้นรูปเส้นใยไฟโบรอินและเส้นใยไฟโบรอินที่เติมสารเรืองแสง โดยเทคนิค การปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต |
|
dc.title.alternative |
Fabrication of Silk Fibroin and Fluorescent Silk Fibroin Nanofibers via Electrospinning |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.subject.keyword |
ไหม |
|
dc.subject.keyword |
ไฟโบรอิน |
|
dc.subject.keyword |
กระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต |
|
dc.subject.keyword |
สารเรืองแสง |
|
dc.subject.keyword |
Silk |
|
dc.subject.keyword |
fibroin |
|
dc.subject.keyword |
Electrospinning |
|
dc.subject.keyword |
Fluorescent dye |
|
dc.description.abstractthai |
ไฟโบรอินเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติจากรังไหมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การปรับปรุง
ไฟโบรอินให้มีการเรืองแสงได้รับความสนใจในด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อในช่วงเวลาที่ผ่านมา เนื่องจากมีความ
เข้ากันได้กับร่างกาย มีความสามารถในการสลายตัวทางชีวภาพ และง่ายต่อการตรวจสอบโดยไม่ต้องทําลาย
ตัวอย่าง งานวิจัยนี้ได้ทําการขึ้นรูปเส้นใยไฟโบรอินและเส้นใยไฟโบรอินที่เติมสารเรืองแสงจากกระบวนการปั่น
เส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตซึ่งเป็นกระบวนที่ไม่ซับซ้อน สามารถผลิตเส้นใยที่มีขนาดต่ํากว่าไมโครเมตรและยาวต่อเนื่อง
โดยใช้ศักย์ไฟฟ้า โดยนํารังไหมบ้านมาสกัดเพื่อให้ได้ไฟโบรอินโดยใช้สารละลายแคลเซียมคลอไรด์จากนั้นทําให้เป็น
ผงแล้วนํามาละลายในกรดฟอร์มิกความเข้มข้นร้อยละ 98 จนได้ความเข้มข้นของไฟโบรอินร้อยละ 10 12 และ
14 wt% สําหรับสารละลายไฟโบรอินเรืองแสงเตรียมโดยใช้สารเรืองแสงฟลูออเรสซีนโซเดียมที่ความเข้มข้น
แตกต่างกัน สารละลายขึ้นรูปเป็นเส้นใยด้วยการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตโดยใช้ศักย์ไฟฟ้าที่ 20 kV การวิเคราะห์
ลักษณะสัณฐานของเส้นใยไฟโบรอินและเส้นใยไฟโบรอินที่เติมสารเรืองแสงโดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องกราดแสดงลักษณะเส้นใยที่ยาวต่อเนื่องขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ
ต่ํากว่าไมโครเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของไฟโบรอิน
การตรวจวิเคราะห์สมบัติทางแสงของเส้นใยไฟโบรอินที่เติมสารเรืองแสงด้วยเครื่องวัดการเรืองแสง
สเปคโตรฟลูออโรมิเตอร์แสดงค่าความเข้มการเรืองแสงสูงขึ้นเมื่อลดความเข้มข้นของสารเรืองแสง และการตรวจ
วิเคราะห์เอกลักษณ์เฉพาะด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีของเส้นใยไฟโบรอินและเส้นใยไฟโบรอินที่เติมสารเรืองแสง
ด้วยเครื่องวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางโครงสร้างเคมีของสารโดยใช้ฟูเรียร์ทรานฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
แสดงหมู่ฟังก์ชันที่สอดคล้องกับโครงสร้างทางเคมีของไฟโบรอิน ทําให้สามารถยืนยันได้ว่าเส้นใยที่ได้เป็นเส้นใย
ไฟโบรอิน และสารเรืองแสงที่เติมไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางเคมีของไฟโบรอิน |
|