dc.contributor.advisor |
วรรณวิไล ไกรเพ็ชร์ เอวานส์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ชัชวาลย์ คูธนบดี |
th_TH |
dc.contributor.author |
นภวรรณ รอดร่วมบุญ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2022-08-08T03:22:12Z |
|
dc.date.available |
2022-08-08T03:22:12Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24776 |
|
dc.description.abstract |
The aim of this project is to apply the Computational Fluid Dynamic (CFD) technique to simulate 3D flow within hydrocyclones for seawater-crude oil separation. The turbulent characteristics of the flow were modelled by using Reynoldes Stress Model (RSM) in CFD code. The performance of two hydrocyclones of Colman and Thew (Amini et al., 2012) and Bai and
Wang (Bai et al., 2011) were investigated. The effect of inlet velocity on the separation performance was also studied. It was found that the Colman and Thew hydrocyclone gave better separation performance than that of Bai and Wang hydrocyclone. An increase in inlet velocity leads to increase the separate performance. Multi-Stage hydrocyclone system was applied in order to enhance the crude-oil separation. Two types of multi-stage hydrocyclone system were
conducted in this study. The first system consists of Colman and Thew (2012) and Bai and Wang (2011) and the second system consists of two Bai and Wang hydrocyclones. The second system yields better separation and can reduce the number of operation unit for high concentration feed. The flow simulation results from this work can apply as a design tool for seawater-crude oil separation hydrocyclone. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การจำลองการแยกน้ำ-น้ำมันโดยไฮโดรไซโคลน |
th_TH |
dc.title.alternative |
The simulation of oil - water separation using hydrocyclone |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ไฮโดรไซโคลน |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ไฮโดรไซโคลน -- พลศาสตร์ของไหล |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
โครงงานวิศวกรรมเคมีนี้เป็นการประยุกต์ใช้การคำนวณทางพลศาสตร์ของไหลแบบ 3 มิติ ในการจำลองลักษณะการไหลภายในไฮโดรไซโคลนสำหรับการแยกน้ำมันดิบกับน้ำทะเล โดยใช้แบบจำลองการไหล Reynold Stress Model (RSM) ได้ทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการแยกของไฮโดรไซโคลน 2 ตัว คือ ไฮโดรไซโคลนของ Colman and Thew ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 มิลลิเมตร และไฮโดรไซโคลนของ Bai and Wang ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 มิลลิเมตร ศึกษาการเปลี่ยนความเร็วทางเข้าไฮโดรไซโคลน ซึ่งพบว่าเมื่อความเร็วสูงขึ้นประสิทธิภาพในการแยกจะเพิ่มขึ้น และประสิทธิภาพการแยกของไฮโดรไซโคลนของ Colman and Thew ดีกว่าไฮโดรไซโคลนของ Bai and Wang เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแยกน้ำมันดิบกับน้ำทะเลและเพิ่มปริมาณ
น้ำมันดิบที่แยกได้ จึงนำไฮโดรไซโคลนมาต่อแบบ Multi-stage Hydrocyclone 2 แบบ ซึ่งในแบบที่ 1 เป็นการนำไฮโดรไซโคลนของ Colman and Thew มาต่อกับไฮโดรไซโคลนของ Bai and Wang
ในแบบที่ 2 เป็นการนำไฮโดรไซโคลนของ Colman and Thew มาต่อกัน พบว่าการต่อแบบ Multistage
Hydrocyclone แบบที่ 2 ดีกว่าการต่อแบบที่ 1 เนื่องจากน้ำมันดิบที่ได้จากการต่อแบบที่ 2 มีสัดส่วนโดยปริมาตรของของน้ำมันสูงกว่าและจำนวนไฮโดรไซโคลนที่ใช้น้อยกว่าการต่อแบบที่ 1 ผลการจำลองในโครงงานนี้สามารถเป็นแนวทางในการออกแบบไฮโดรไซโคลนสำหรับการแยกน้ำมันดิบกับน้ำทะเลได้ |
th_TH |