DSpace Repository

วัสดุฐานฟันเทียมชนิดบ่มด้วยความร้อนและกรรมวิธีผลิต

Show simple item record

dc.date.accessioned 2022-07-20T14:40:43Z
dc.date.available 2022-07-20T14:40:43Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22603
dc.language th
dc.publisher กรมทรัพย์สินทางปัญญา
dc.subject สิทธิบัตร
dc.title วัสดุฐานฟันเทียมชนิดบ่มด้วยความร้อนและกรรมวิธีผลิต
dc.type Patent
dc.contributor.inventor ปิยะนารถ เอกวรพจน์
dc.contributor.inventor ณปภา เอี่ยมจิรกุล
dc.contributor.assignee มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.identifier.patentnumber 13283
dc.description.abstractthai แก้ไข 07/10/2559 วัสดุสำหรับทำฐานฟันเทียมชนิดบ่มด้วยความร้อนที่ประกอบด้วย อะคริลิกเรซิน เมทิลเมทาครัย เลตโมโนเมอร์ และส่วนของสารประกอบซิลเวอร์ซีโอไลต์ด้วยวิธีการผสมลงในส่วนของอะคริลิกเรซินที่ อุณหภูมิห้อง ก่อนการนำไปบ่มด้วยความร้อน มีคุณสมบัติในการลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราที่ อยู่ในช่องปากที่มาเกาะติดอยู่บริเวณผิวฐานฟันเทียม โดยใช้เทคนิคการผลิตวัสดุที่มีการเติมสารต่อต้าน เชื้อจุลินทรีย์ในส่วนประกอบส่วนผงที่ต้องการการผสมกับส่วนเหลว ก่อนนำไปผลิตเป็นฐานฟันเทียม เฉพาะบุคคลสำหรับผู้ป่วย -------------------------- แก้ไข บทสรุป 07/01/2559 วัสดุสำหรับทำฐานฟันเทียมชนิดบ่มด้วยความร้อนที่ประกอบด้วย อะคริลิกเรซิน เมทิลเมทาครัย เลตโมโนเมอร์ และส่วนของสารประกอบซิลเวอร์ซีโอไลต์ด้วยวิธีการผสมลงในส่วนของอะคริลิกเรซินที่ อุณหภูมิห้อง ก่อนการนำไปบ่มด้วยความร้อน มีคุณสมบัติในการลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราที่ อยู่ในช่องปากที่มาเกาะติดอยู่บริเวณผิวฐานฟันเทียม โดยใช้เทคนิคการผลิตวัสดุที่มีการเติมสารต่อต้าน เชื้อจุลินทรีย์ในส่วนประกอบส่วนผงที่ต้องการการผสมกับส่วนเหลว ก่อนนำไปผลิตเป็นฐานฟันเทียม เฉพาะบุคคลสำหรับผู้ป่วย --------------------------- คำขอใหม่ปรับปรุง วัสดุสำหรัทำฐานฟันเทียมชนิดบ่มด้วยความร้อน มีคุณสมบัติในการลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราที่อยู่ในช่องปากที่มาเกาะติดอยู่บริเวณผิวฐานฟันเทียม โดยใช้เทคนิคการผลิตวัสดุที่มีการเติม สารต่อต้านเชื้อจุลินทรีย์ในส่วนประกอบส่วนผงที่ต้องการการผสมกับส่วนเหลว ก่อนนำไปผลิตเป็นฐาน ฟันเทียมเฉพาะบุคคลสำหรับผู้ป่วย เมื่อนำวัสดุชนิดนี้ไปผลิตเป็นฐานฟันเทียมพร้อมฟันเทียมโดยผ่าน ขั้นตอนการผลิตที่ผ่านความร้อน และนำไปทดสอบความสามารถในการฆ่าเชื้อ พบว่าให้ผลในการฆ่า เชื้อได้ที่ปริมาณความเข้มข้น ตั้งแต่ 0.25-0.5 % โดยน้ำหนัก เมื่อเติมสารซิลเวอร์นาโนที่ความเข้มข้น 0.5% โดยน้ำหนัก ทำให้วัสดุฐานฟันเทียมมีความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้น จึงเลือกใช้ความเข้มข้นที่ เหมาะสมในการเติมลงไปในวัสดุทำฐานฟันเทียม --------------


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics