DSpace Repository

การศึกษาจลนพลศาสตร์และเทอร์โมไดนามิกส์ของการดูดซับไอออนโลหะหนักโดยเปลือกเมล็ดทานตะวัน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศิริวรรณ ศรีสรฉัตร์ th_TH
dc.contributor.author ธัญญลักษณ์ เรืองวัฒนาโชค th_TH
dc.contributor.author อาภากร พ่วงปาน th_TH
dc.date.accessioned 2022-06-23T09:45:39Z
dc.date.available 2022-06-23T09:45:39Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22273
dc.description.abstract A study of the factors effecting the adsorption of Lead(II) Zinc(II) and Nickel(II) ions by modified sunflower seed husk was investigated in batch absorption in order to obtain the optimum conditions for heavy metal adsorption process. In this study, the factor are carbonized temperature (400 to 600°C) contact time, adsorbent size (less than 80 to more than 170 mesh), pH of solution (2 to 6) and solution temperature (30 to 50°C). The maximum adsorption capacity of lead(II) and zinc(II) ions occurred 400°C modified husk with 99.332 and 99.033 percent respectively . Whereas that of nickel(II) ions, occurred 500°C modified husk with 98.915 percent. For maximum adsorption occurred in size 120 to 170 mesh. In part of pH value, for maximum adsorption of heavy metal ions occurred in pH 5 and zinc(II) ions occurred in pH 4. Increasing the solution temperature from 30 to 50°C appeared to have no effect on the heavy metal ion removal from solution. The kinetic adsorption conformed to pseudo-second order. Thermodynamic adsorption of lead(II) zinc(II) and nickel(II) ions are consists of negative enthalpy. Furthermore, Gibbs free energy increased with negative trend in temperature solution range of 30 to 50 °C. The adsorption process conformed to the Langmuir Adsorption Isotherm with the maximum adsorption of lead(II) zinc(II) and nickel(ll) ions were 26.316, 26.110 and 22.727 mg/g with KL of lead(Il) zinc(II) and nickel(ll) ions were 0.038, 0.038 and 0.023 L/mg respectively. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การศึกษาจลนพลศาสตร์และเทอร์โมไดนามิกส์ของการดูดซับไอออนโลหะหนักโดยเปลือกเมล็ดทานตะวัน th_TH
dc.title.alternative Kinetic and thermodynamic study of heavy metal ions removal by sunflower seed husk th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword จลนพลศาสตร์ th_TH
dc.subject.keyword เทอร์โมไดนามิกส์ th_TH
dc.subject.keyword โลหะหนัก th_TH
dc.subject.keyword เปลือกเมล็ดทานตะวัน th_TH
dc.description.abstractthai จากการทดลองใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันเผาแบบจำกัดอากาศเป็นวัสดุดูดซับไอออนโลหะหนัก (ตะกั่ว สังกะสี และนิกเกิล) ออกจากสารละลาย โดยทำการศึกษาการดูดซับแบบกะ ศึกษาผลของอุณหภูมิที่ใช้เผาในช่วง 400 ถึง 600°ซ ขนาดของตัวดูดซับน้อยกว่า 80 ถึง มากกว่า 170 เมช ค่าพีเอชของสารละลายในช่วง 2 ถึง 6 และอุณหภูมิของสารละลายในช่วง 30 ถึง 500°ซ พบว่าวัสดุดูดซับสามารถดูดซับไอออนตะกั่ว(บ) และไอออนสังกะสี(บ) ได้สูงสุดเมื่อเผาที่อุณหภูมิ 400°ซ มีค่าการดูดซับร้อยละ 99.332 และ 99.033 ตามลำดับ และสามารถดูดซับไอออนนิกเกิล(บ) ได้สูงสุดเมื่อเผาที่อุณหภูมิ 500°ซ มีค่าการดูดซับร้อยละ 98.915 วัสดุดูดซับขนาดมากกว่า 80 เมชสามารถดูดซับไอออนตะกั่ว(บ) และไอออนนิกเกิล(บ) ได้ดีในสารละลายพีเอชเท่ากับ 5 มีค่าการดูดซับร้อยละ 99.265 และ 99.972 ตามลำดับ และสามารถดูดซับไอออนสังกะสี(บ) ได้ดีในสารละลายพีเอชเท่ากับ 4 มีค่าการดูดซับร้อยละ 99.964 และอุณหภูมิของสารละลายไม่มีผลต่อการดูดซับจลนพลศาสตร์ การดูดซับเป็นไปตามแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับที่สองเทียม ศึกษาเทอร์โมไดนามิกส์ของการดูดซับพบว่าการเปลี่ยนแปลงเอนทาลปี (A/7) มีค่าติดลบ การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี (AS) มีค่ามากกว่าศูนย์ ค่าพลังงานอิสระกิบส์ (AG) มีค่าติดลบมากขึ้นในช่วงอุณหภูมิ 30 ถึง 50 °ซ และการดูดซับเป็นไปตามแบบจำลองการดูดซับของแลงเมียร์ มีปริมาณการดูดซับดูดซับไอออนตะกั่ว(บ) ไอออนสังกะสี(บ)และไอออนนิกเกิล(บ)สูงสุดเท่ากับ 26.316 26.110 และ 22.727 มิลลิกรัมต่อกรัม และค่าคงที่แลงเมียร์ของการดูดซับดูดซับไอออนตะกั่ว(บ) ไอออนสังกะสี(บ) และไอออนนิกเกิล(บ) เท่ากับ 0.038 0.038 และ 0.023 ลิตรต่อมิลลิกรัมตามลำดับ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics