dc.date.accessioned | 2022-06-22T15:02:39Z | |
dc.date.available | 2022-06-22T15:02:39Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22226 | |
dc.language | th | |
dc.publisher | กรมทรัพย์สินทางปัญญา | |
dc.subject | สิทธิบัตร | |
dc.title | เครื่องมือวัดดีเอ็นเอไพโซอิเล็กตริกไบโอเซนเซอร์ | |
dc.type | Patent | |
dc.contributor.inventor | ธงชัย แก้วพินิจ | |
dc.contributor.inventor | สมชาย สันติวัฒนกุล | |
dc.contributor.inventor | โกสุม จันทร์ศิริ | |
dc.contributor.assignee | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | |
dc.description.abstractthai | เครื่องมือวัดดีเอ็นเอไพโซอิเล็กตริกไบโอเซนเซอร์ตามการประดิษฐ์นี้ ใช้สำหรับการตรวจวัดเชื้อวัณโรคชนิดมัยโคแบคที่เรียม ทุเบอร์คุโลซีส และเชื้อพยาธิเท้าช้างชนิด บรูเกีย มาลาไย ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นตัวควบคุมการกำเนิดและประมวลผลค่าความถี่ ซึ่งในการติดตามการเกิดปฏิกิริยาของโพรบดีเอ็นเอเมื่อมีความจำเพาะต่อดีเอ็นเอเป้าหมายบนอิเล็กโทรดทอง จะส่งผลให้ความถี่ที่ตอบสนองเกิดการเปลี่ยนแปลงลดลงจากเดิม โดยระบบประมวลผลจะแสดงผลค่าความถี่ที่เกิดขึ้นบนจอแสดงผล LCD ด้วยความละเอียดถึง 0.1 Hzและผ่านพอร์ตภายนอกในการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ย้อนหลัง ------------ DC60 (24/02/53) เครื่องมือวัดดีเอ็นเอไพโซอิเล็กตริกที่มีลักษณะเครื่องมือที่ใช้ได้กับแรงดันไฟฟ้า 9 - 12 VAC/DC ใช้สำหรับตรวจวัดเชื้อโรคโดยที่ติดดีเอ็นเอบนตัวแปลงสัญญาณ ควอทซ์ คริสตัล ความถี่ตั้งแต่ 0 - 20 MHz ซึ่งเครื่องมือวัดประกอบด้วย ไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นตัวประมวลผลค่าความถี่ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของเครื่องมือ วัดนี้ จะเลือกใช้ไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ในตระกูล AVR ของ ATMEL เบอร์ ATTINY 2313 ขนาด 20 pins เพื่อใช้ในการประมวลผลและเลือกใช้การทำงานด้วยความถี่สัญญาณนาฬิกา X- Tal 20 MHz เพื่อรองรับตัวแปลงสัญญาณที่ติดด้วยสายดีเอ็นเอได้หลายความถี่ควอทซ์ คริสตัลพอร์ต A ขาที่ 4 (PA1) เป็น input และขาที่ 5 (PA0) เป็น output ของสัญญาณความถี่ นาฬิกา X-Tal 20 MHz เป็นตัวอ้างอิงของเครื่องมือวัดให้สามารถอ่านค่าความถี่ควอทซ์ คริสตัลได้ตั้งแต่ 0- 20 MHz และพอร์ต B จะต่อกับตัวต้านทาน RP แบบแพ็ค ทำหน้าที่ ยกระดับสัญญาณของพอร์ตให้สูงขึ้นและจ่ายกระแสเมื่อถูกดึงระดับให้ต่ำจากภายนอกและต่อ ผ่านไปยัง LCD ยกเว้นขาที่ 16 (PB4) และขาที่ 17 (PB5) ซึ่งขาของ PB4 จะต่อกับ ทรานซิสเตอร์ PNP เบอร์ BC327 เนื่องจากคอนโทรลเลอร์ขณะรีเซตจะเป็น high ต่อขา E กับ ขั้วบวกและ ขา C กับรีเลย์และอีกขาของรีเลย์จะต่อลงกราวนด์ และขา B ต่อกับความต้านทาน 10 K และใช้ BC เพราะมีราคาถูกกว่าทรานซิสเตอร์ตัวอื่น ๆ แล้วจึงเชื่อมขา PB4 เข้ากับ LCD ซึ่งตัว LCD แสดงผลต่อพร้อมกับ VR ปรับความเข้มของ LCD และพอร์ต D เป็นรับข้อมูลจาก ส่วนออสซิลเลเตอร์และขาที่ 20 ต่อ VCC และขาที่ 10 ต่อกราวนด์และขาที่ 2 (PD0) ต่อผ่าน Jumper ขาที่ 2 และขาที่ 1 ของ jumper ต่อกราวนด์และขาที่ 1 ต่อ VCC ซึ่ง Header ของ Jumper มีไว้สำหรับเป็นพรอร์ตต่อเชื่อมให้ออกภายนอก ในส่วนของออสซิลเลเตอร์ที่ให้สัญญาณความถี่จะใช้ไอซี CD4060 ซึ่งเป็นคริสตัล ออสซิลเลเตอร์ โดยรับสัญญาณจากควอทซ์ คริสตัลที่เป็นตัวแปลงสัญญาณที่มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางควอทซ์ 0.8 มิลลิเมตรและเส้นผ่าศูนย์กลางอิเล็กโทรดทอง 0.4 มิลลิเมตรต่อ คร่อมกับตัวเก็บประจุ 22 pF 2 ตัวและตัวต้านทานขนาด 1M และ 2K2 โดยผ่านทางขาที่ 11 และขาที่ 10 ของไอซี CD4060 และขาที่ 12 เป็น Reset สามารถให้สัญญาณผ่านทางขาที่ 11 (PD6) ของไอซี ATTINY 2313 และใช้ ขาที่ 6 (PD2) และขาที่ 9 (PD5) ในการเลือกรับ สัญญาณ output จากขาที่ 7 ของไอซี CD4060 โดยเลือกกำหนดจาก Jumper และขาที่ 16 ต่อ VCC และขาที่ 8 ต่อกราวนด์และ S1 และ S2 เป็น switch reset คาบเวลาของความถี่นาฬิกา ผ่านทางของที่ 7 (PD3) และขาที่ 8 (PD4) ของไอซี ATINY 2313 เครื่องมือวัดดีเอ็นเอไพโซอิเล็กตริกที่มีลักษณะเครื่องมือที่มช้ได้กับแรงดังไฟฟ้า 9-12 VAC/DC ใช้สำหรับตรวจวัดเชื่อโรคโดยมราติดเอ็นเอบนตัวแปลงสัญญาณ ควอทซ์ คริสตัล ความถี่ตั้งแต่ 0-20 MHz ซึ่งเครื่องมือวัดประกอบด้วย ไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นตัวประมวลผลค่าความถี่ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของเครื่องมือ วัดนี้ จะเลือกใช้ไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ใรตระกูล AVR ขิง ATMEL เบอร์ ATTINY 2313 ขนาด 20 pins เพื่อใช้ในการประมวลผลและเลือกใช้การทำงานด้วยความถี่สัญญาณนาฬิกา X- Tal 20 MHz เพื่อรองรับตัวแปลงสัญญาณที่ติดด้วยสายดีเอ็นเอได้หลายความถี่ควอทซ์ คริสตัลพิร์ต A ขาที่ 4 (PA1) เป็น input และขาที่ 4 (PA0) เป็น output ของสัญญาณความถี่ นาฬิกา X-Tal 20 MHz เป็นตัวอ้างอิงของเครื่องมือวัดมห้สามารถอ่านค่าความถี่ควอทซ์ คริสตัลได้ตั้งแต่ 0-20 MHz และพอร์ต B จะต่อกับตัวต้านทาน RP แบบแพ็ค ทำหน้าที่ ยกระดับสัญญาณของพิร์ตให้สูงขึ้นและจ่ายกระแสเมื่อถูกดึงระดับให้ความต่ำจากภายนอกและต่อ ผ่านไปนัง LCD ยกเว้นขาที่ 16 (PB) และขาที่ 17 (PB5) ซึ่งขาของ PB4 จะต่อกับ ทรานซิสเตอร์ PNP เบอร์ BC327 เนื่องจากคอนโทรลเลอร์ขณะรีเซตจะเป็น high ต่อขา E กับ ขั้วบวกและ ขา C กับรีเลย์และอีกขาของรีเลย์จะต้องกราวน์ด และขา B ต่อกับความต้านทาน 10 K และใช้ BC เพราะมีราคาถูกกว่าทรานซิสเตอร์ตัวอื่นๆ แล้วจึงเชื่อมขา PB4 เข้ากับ LCD ซึ่งตัว LCD แสดงผลต่อพร้อมกับ VR ปรับความเข้มของ LCD และพอร์ต D เป็นรับข้อมูลจาก ส่วนออสซิลเลเตอร์และขาที่ 20 ต่อ VCC และขาที่ 10 ต่อกราวนด์และขาที่ 2 (PD0) ต่อผ่าน Jumper ขาที่ 2 และขาที่ 1 ของ jumper ต่อกราวนด์และขาที่ 1 ต่อ VCC ซึ่ง Header ของ Jumper มีไว้สำหรับเป็นพรอร์ตต่อเชื่อมให้ออกภายนอก ในส่วนของออศซิลเลเตอร์ที่ให้สัญญาณความถีจะให้ไอซี CD4060 ซึ่งเป็นคริสตัล ออสศิลเลเลอร์ โดยรับสัญญาณจากควอทซ์ คริสตัลที่เป็นตัวแปลงสัญญาณที่มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางควอทซ์ 0.8 มิลลิเมตรและเส้นผ่านศูนย์กลางอิเล็กโทรดทอง 0.4 มิลลิเมตรต่อ คร่อมกับตัวเก็บปนะจุ 22 pF 2 ตัวและตัวต้านทานขนาด 1M และ 2K2 โดยผ่านทางขาที่ 11 และขาที่ 10 ของไอซี CD4060 และขาที่ 12 เป็น Reset สามารถให้สัญญาณผ่านทางขาที่ 11 (PD6) ของไอซี ATTINY 2313 และใช้ ขาที่ 6 (PD2) และขาที่ 9 (PD5) ในการเลือกรับ สัญญาณ output จากขาที่ 7 ของไอซี CD4060 โดยเลือกกำหนดจาก Jumper และขาที่ 16 ต่อ VCC และขาที่ 8 ต่อกราวนด์และ S1 และ S2 เป็น switch reset คาบเวลาจองความถี่นาฬิกา ผ่านทางของที่ 7 (PD3) และขาที่ 8 (PD4) ของไอซี ATINY 2313 |