dc.date.accessioned |
2022-06-14T08:51:25Z |
|
dc.date.available |
2022-06-14T08:51:25Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21911 |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
กรมทรัพย์สินทางปัญญา |
th_TH |
dc.subject |
สิทธิบัตร |
th_TH |
dc.title |
กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ด้วยแถบสี |
th_TH |
dc.type |
Patent |
th_TH |
dc.contributor.inventor |
ธงชัย แก้วพินิจ |
|
dc.contributor.inventor |
สมชาย สันติวัฒนกุล |
|
dc.contributor.inventor |
โกสุม จันทร์ศิริ |
|
dc.contributor.inventor |
จัตุรงค์ ขำดี |
|
dc.contributor.assignee |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.identifier.patentnumber |
13929 |
|
dc.identifier.patentnumber |
13930 |
|
dc.description.abstractthai |
กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ด้วยแถบสีที่ พัฒนาขึ้นนี้มีความจำเพาะต่อลำดับเบสกลายพันธุ์ตำแหน่งโพรโมเตอร์ (promoter) ที่ 15 ซึ่งเบส ซี เปลี่ยนเป็น เบสที (C-15-T) ของยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isniazid) โดยการออกแบบ ไพรเมอร์ที่ใช้ปฏิกิริยาแลมป์ (LAMP) ประกอบด้วยไพรเมอร์ 4 ตัว ที่จำเพาะต่อลำดับเบสกลายพันธุ์ดังกล่าว ของเชื้อวัณโรค ด้วยการทำปฏิกิริยาแลมป์ (LAMP) ที่อุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เอ็นเวลา 45-60 นาที แล้วใช้ตัว ตรวจจับติดสารเรืองแสง (FITC) ด้วยกานอ่านผลบนแผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบ สีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ของยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการ ตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่อง แยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้าในการติดตามผลของปฏิกิริยา ------------------------------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุง การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการป้องกันการกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ที่ เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ โดยเริ่มจากการออกแบบ primers 4 ตัว ที่ออกแบบจากลำดับเบสในส่วนยีนเชื้อวัณ โรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีน inhA ที่ออกแบบในระบบนี้ DNA เป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณ ภายใต้อุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 45-60 นาที ผลการตรวจพบว่าเทคนิค LAMP มีความจำเพาะในการ ตรวจสอบการกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีน inhA เทียบเท่ากับการ ตรวจสอบด้วยเทคนิค PCR แบบ real time ต่อจากนั้นทำการออกแบบตัวตรวจจับ (probe) ที่จำเพาะต่อลำดับ เบสของผลผลิต LAMP ที่ได้ แล้วทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการตรวจสอบผลผลิตของ LAMP ที่ได้บนแผ่น dipstick แทนการตรวจสอบด้วยวิธี gel eletrophoresis ซึ่งจะใช้เวลาอีกเพียง 5-15 นาทีเท่านั้น |
|