dc.contributor.author |
วรรณวิสา ศรีวิลาศ |
th_TH |
dc.contributor.author |
วสันต์ สกุลกิจกาญจน์ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2022-03-30T13:58:55Z |
|
dc.date.available |
2022-03-30T13:58:55Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/19392 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการระดับชาติในความร่วมมือ 4 สถาบัน ประจำปี 2562 “NEW AGE IN SUSTAINABLE BUSINESS” |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไว้วางใจ การรับรู้โฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และคุณภาพของ
แอพพลิเคชั่นออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ตราสินค้าและการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้สูงอายุผ่านโมบาย
แอพพลิเคชั่นออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุจำนวน
400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลวิจัย
พบว่า 1. ปัจจัยความไว้วางใจ ด้านการสื่อสาร ด้านการเอาใจใส่ มีผลต่อการรับรู้ตราสินค้า ส่วนด้านการสื่อสาร
ด้านการให้ความสะดวกสบาย มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้สูงอายุผ่านโมบายแอพพลิเคชั่น
ออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ
2. ปัจจัยการรับรู้โฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ด้าน Facebook ด้าน Youtube มีผลต่อการรับรู้ตราสินค้า
ส่วนด้าน Facebook ด้าน Line ด้าน Youtube มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้สูงอายุผ่านโมบาย
แอพพลิเคชั่นออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ
3. ปัจจัยคุณภาพของแอพพลิเคชั่นออนไลน์ ด้านชื่อเสียง ด้านความปลอดภัย มีผลต่อการรับรู้ตราสินค้า
ด้านการจดจำตราสินค้า ส่วนด้านชื่อเสียง มีผลต่อการรับรู้ตราสินค้า ด้านการเป็นตราสินค้าที่หนึ่งในใจ และ
ด้านชื่อเสียง ด้านคุณภาพของข้อมูล ด้านความปลอดภัย มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้สูงอายุผ่าน
โมบายแอพพลิเคชั่นออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ
4. ปัจจัยการรับรู้ตราสินค้า ด้านการจดจำตราสินค้า ด้านการเป็นตราสินค้าที่หนึ่งในใจ มีผลต่อการตัดสินใจ
ซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้สูงอายุผ่านโมบายแอพพลิเคชั่นออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ |
th_TH |
dc.description.abstract |
This research aimed to study the relationship between lifestyle and service quality, affecting the brand loyalty of customers to the Train Night Market Ratchada. The case study was concerned with the brand loyalty of the customers to the Train Night Market Ratchada. The data were collected by questionnaires and then analyzed with statistics, percentage, frequency, average, standard deviation variance, a t-test, ANOVA and Pearson’s Correlation Coefficient. The results of the research indicated that customers from different age groups had different levels of loyalty to the Train Night Market Ratchada, with a 0.05 level of statistical significance. Factors including activities, lifestyle factors, interests and opinions were associated with the loyalty of customers |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ความไว้วางใจ |
th_TH |
dc.subject |
การรับรู้ตราสินค้า |
th_TH |
dc.subject |
การตัดสินใจซื้อ |
th_TH |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
Trust |
th_TH |
dc.subject |
Brand |
th_TH |
dc.subject |
Awareness |
th_TH |
dc.subject |
Decision |
th_TH |
dc.subject |
Elderly |
th_TH |
dc.title |
ความไว้วางใจ การรับร้โูฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และคุณภาพของแอพพลิเคชั่นออนไลน์ ที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ตราสินค้าและการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ของผู้สูงอายุผ่านโมบายแอพพลิเคชั่นออนไลน์ในเขตกรงุเทพมหานคร |
th_TH |
dc.title.alternative |
TRUST, ADVERTISING PERCEPTION OF SOCIAL MEDIA AND THE QUALITY OF ONLINE APPLICATIONS INFLUENCING BRAND AWARENESS AND ELDERLY PURCHASE DECISION OF CONSUMER GOODS THROUGH ONLINE MOBILE APPLICATIONS IN BANGKOK METROPOLITAN REGION |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |