DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้ยาสองขนานสูตร 0.3% Ofloxacin ร่วมกับ 1% Prednisolone acetate (OFX/PRED) กับยา 0.3% Ofloxacin (OFX) ขนาดเดียวในผู้ป่วยหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน

Show simple item record

dc.contributor.author วิลาสินี พิสิฐวัฒนาภรณ์ th_TH
dc.contributor.author วิศาล มหาสิทธิวัฒน์ th_TH
dc.contributor.author ฐาณิญา โต๊ะประดู่ th_TH
dc.date.accessioned 2022-03-25T05:39:16Z
dc.date.available 2022-03-25T05:39:16Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/19374
dc.identifier.uri https://he02.tci-thaijo.org/index.php/rcotJ/issue/view/17690/4738
dc.description.abstract วัตถุประสงค์: ผลการใช้ยาสองขนานสูตร 0.3%Ofloxacin ร่วมกับ1%Prednisolone acetate (OFX/PRED) เทียบกับยา 0.3%Ofloxacin (OFX) ขนานเดียวในผู้ป่วยหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลันวิธีการศึกษา:การศึกษาเชิงทดลองในผู้ป่วยหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน จํานวน 42 ราย (OFX/PRED20 ราย และ OFX ขนานเดียว22ราย) เก็บรวบรวมข้อมูลอาการบวม ลักษณะอาการโดยรวม ความเจ็บปวด และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะรักษาผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่ได้รับยาทั้งสองสูตรมีสัดส่วนการหายจากอาการบวมภายหลังการรักษาครบ 7 วันไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p-value = 0.56)นอกจากนี้คะแนนความเจ็บปวดและคะแนนอาการโดยรวมระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาทั้งสองกลุ่มลดลงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p-value=0.22 และ 0.88ตามลําดับ)และไม่มีรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงระหว่างการศึกษา บทสรุป: การใช้ยาสองขนานสูตรOFX/PRED และยาOFX ขนานเดียวสามารถลดอาการบวม ลักษณะอาการโดยรวมและความเจ็บปวดไม่แตกต่างกันดังนั้นอาจไม่จําเป็นต้องใช้ยาสูตรผสมระหว่างOfloxacin กับสเตียรอยด์สําหรับการรักษาโรคหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน th_TH
dc.description.abstract Objective: To compare the effectiveness of 0.3% ofloxacin plus 1% prednisolone acetate (OFX/PRED) and 0.3% ofloxacin (OFX) alone for the treatment of acute otitis externaMaterials and methods: Forty-two adult patients with acute otitis externa (20 cases in OFX/PRED and 22 cases in OFX) were enrolled in a prospective, double-blinded, randomized controlled trial. Edema resolution, pain score, clinical symptom score, and any adverse events were recorded during the treatment.Results: Our results showed that the difference of edema resolution between both groups at 7-day post treatment were not statistically significant (p-value = 0.56). Moreover, the change of pain score and clinical symptom score were not significantly different (p-value = 0.22 and 0.88). No serious adverse events occurred in both groups.Conclusion: Both OFX/ PRED and OFX showed equal effectiveness in acute otitis externa treatment, in terms of reducing edema, pain score and clinical symptom score. Therefore, it may be unnecessary to combine ofloxacin with steroid for the treatment of acute otitis externa.
dc.language.iso th th_TH
dc.subject Acute otitis externa th_TH
dc.subject ofloxacin th_TH
dc.subject prednisolone acetate th_TH
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้ยาสองขนานสูตร 0.3% Ofloxacin ร่วมกับ 1% Prednisolone acetate (OFX/PRED) กับยา 0.3% Ofloxacin (OFX) ขนาดเดียวในผู้ป่วยหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน th_TH
dc.title.alternative A Comparison Study of 0.3%Ofloxacin Plus1% Prednisolone Acetate (OFX/PRED) and 0.3%Ofloxacin (OFX) Alone for Treatment of Acute Otitis Externa
dc.type Article th_TH
dc.identifier.bibliograpycitation วารสาร หู คอ จมูก และใบหน้า. ปีที่ 22ฉบับที่ 2: กรกฎาคม -ธันวาคม 2564, หน้า 34-47. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics