dc.contributor.author |
ศศิพิมล ประพินพงศกร |
th_TH |
dc.contributor.author |
สิริวัจนา แก้วผนึก |
th_TH |
dc.contributor.author |
รัตตมา รัตนวงศา |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2021-12-22T07:35:14Z |
|
dc.date.available |
2021-12-22T07:35:14Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15823 |
|
dc.description.abstract |
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการใช้เครื่องมือออนไลน์เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้ดิจิทัล โดยมีวิธีการดำเนินงาน 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดและกระบวนการการรู้ดิจิทัล เครื่องมือออนไลน์ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างอินโฟกราฟิก 2) ร่างรูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดจากขั้นตอนที่ 1 โดยกำหนดเป็นองค์ประกอบและขั้นตอนการเรียนรู้ที่จะใช้เป็นกรอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 3) ออกแบบแผน
กำกับกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 4) ตรวจสอบร่างรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน 5) ทดลองใช้รูปแบบกับกลุ่มผู้อบรมจำนวน 26 คน จากโครงการอบรม “Librarian Space: Digital Literacy" เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความครบถ้วน 6) นำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ฉบับสมบูรณ์ ผลการศึกษา คือ ได้รูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้ดิจิทัลที่มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) กระบวนการการรู้ดิจิทัล 2) เครื่องมือออนไลน์ 3) วิทยากร 4) ผู้เข้าอบรม
และ 5) การประเมินผล โดยมี 5 ขั้นตอนหลัก คือ 1) การเตรียมความพร้อม 2) การค้นหาข้อมูล 3) การนำข้อมูลไปใช้ 4) การเผยแพร่ข้อมูล 5) การประเมินผลลัพธ์ |
th_TH |
dc.description.abstract |
The purpose of this article is to propose a workshop model to enhance digital
literacy skills through the use of online tools. The process includes 6 steps: 1) study
the documents and researches related to digital literacy concept and process, online
tools, and infographic concept and design process; 2) design a workshop model based
on the concepts gained from step 1. The model includes learning factors and process that are the framework of the workshop; 3) design learning activities plan for the
workshop 4) Validated the model by three expert opinions; 4) conduct a workshop
model try out with 26 participants to examine its suitability and
comprehensiveness. The workshop is called “Librarian Space: Digital Literacy;” and 5)
present the final workshop model. The study results in a workshop model with 5
components and 5 main steps. The 5 components are: 1) digital literacy process; 2)
online tools; 3) speakers; 4) participants; and 5) evaluation. The 5 steps are: 1)
preparation; 2) find; 3) use; 4) dissemination; and 5) evaluation |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
Provincial University Library Network, THAILAND |
th_TH |
dc.subject |
การรู้ดิจิทัล |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องมือออนไลน์ |
th_TH |
dc.subject |
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ |
th_TH |
dc.subject |
Digital literacy |
th_TH |
dc.subject |
Online Tools |
th_TH |
dc.title |
การนำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการใช้เครื่องมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้ดิจิทัล |
th_TH |
dc.title.alternative |
Proposing a Workshop Model to Enhance Digital Literacy Skills Using Online Tools |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.identifier.bibliograpycitation |
PULINET Journal Vol. 5, No. 3, September – December 2018 : pp.98-106 |
th_TH |