dc.contributor.advisor |
วีระ สอิ้ง |
th_TH |
dc.contributor.author |
ณัชชา สุขทวี |
th_TH |
dc.contributor.author |
จริญญา จูสิงห์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ศศิธร ลักขณทินชาติ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2020-10-02T03:05:53Z |
|
dc.date.available |
2020-10-02T03:05:53Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/10047 |
|
dc.description.abstract |
โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุของประเทศไทย และจากการรายงานทางการแพทย์
ในปัจจุบันพบว่าโรคหลอดเลือดสมองนี้ สามารถเกิดขึ้นกับผู้ที่มีอายุน้อยได้อีกด้วย จึงทําให้เกิดการคิดค้นและ
พัฒนาระบบที่จะช่วยวินิจฉัยและคัดกรองความผิดปกติเบื้องต้นที่เกิดจากสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองนี้
จากอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่จะแสดงให้เห็นความไม่สมมาตรกันบนใบหน้าของผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมอง ที่เกิดจากสาเหตุของกล้ามเนื้อครึ่งซีกบนใบหน้าที่เกิดอาการอ่อนแรง งานวิจัยนี้จึงได้คิด
ระบบตรวจคัดกรองความผิดปกติบนใบหน้าของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยการนําเทคโนโลยีของการ
มองเห็นของคอมพิวเตอร์ในรูปแบบสามมิติมาใช้ตรวจสอบใบหน้าคนหรือผู้ป่วย จากนั้นจะใช้หลักการใน
รูปแบบสองมิติเพื่อวิเคราะห์ความสมมาตรกันขององค์ประกอบต่างๆบนใบหน้า โดยจะทําการตรวจความ
สมมาตรความเอียงและพื้นที่ของบริเวณดวงตา จมูก และปาก ของผู้ป่วย จากการทดสอบกับใบหน้าผู้ป่วยโรค
หลอดเลือดสมองแล้ว พบว่าระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจคัดกรองความผิดปกติบนใบหน้าของผู้ป่วยโรค
หลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยําอย่างมาก ดังนั้นระบบตรวจคัดกรองความผิดปกติบน
ใบหน้าของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พัฒนาขึ้นโดยเทคโนโลยีของการมองเห็นของคอมพิวเตอร์นี้ สามารถ
นําไปช่วยเหลือแพทย์ในการวินิจฉัยและคัดกรองความผิดปกติที่เกิดบนใบหน้าของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ได้ |
th_TH |
dc.description.abstract |
Stroke is the most disease that occurs in elderly patients in Thailand. Moreover, the
current medical record reports that this disease can occur in young patients. From these
problems, there are many researches that invent and develop a new system to diagnoses and
recognizes the preliminary state of stroke. The initial symptoms of patients represent the
asymmetric face that was occurred by the weakness of the half-face muscles. This research
proposed an automatic diagnosing system of facial stroke asymmetry by using the three-
dimensional computer vision to examine the face of a patient and using two-dimensional
computer vision to analyze the symmetry of the patient face. This system will detect the main
key points of the patient face that consists of the eyes, nose, and mouth. After that, the
proposed system will measure the symmetry, the inclination, and the area from these key
points. From the experimental results, the analysis system diagnoses the facial stroke
asymmetry accurately, quickly and precisely. Therefore, the proposed face analysis system
represents the diagnosisof the facial asymmetry that can assist the medical doctor to analyze
the preliminary state of the stroke patients. |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.subject |
ความผิดปกติของใบหน้า |
th_TH |
dc.subject |
โรคหลอดเลือดสมอง |
th_TH |
dc.subject |
Computer Vision |
th_TH |
dc.subject |
Assistive Medical Diagnosis |
th_TH |
dc.subject |
Facial Stroke |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาหลักการมองเห็นของคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยวินิจฉัย ความผิดปกติของใบหน้าจากโรคหลอดเลือดสมอง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Computer Vision for Assistive Medical Diagnosis from Facial Stroke |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |