Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/5091
ชื่อเรื่อง: | แรงขับเคลื่อนของการวิจัยต่ออัตราการเจริญเติบโตภาคเกษตรไทย |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Driving Force of Research toward Thailand’s Agricultural Growth |
ผู้แต่ง: | จิรวัฒน์ เจริญสถาพรกุล |
Keywords: | เกษตรกร เกษตรกรรม อัตราการเติบโตภาคเกษตร รายจ่ายรัฐบาล การวิจัยเกษตร |
วันที่เผยแพร่: | 2551 |
บทคัดย่อ: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงขับเคลื่อนของการวิจัยต่ออัตราการเติบโตของภาค
เกษตรกรรมไทยในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา โดยเริ่มต้นด้วยการประมาณค่าความยืดหยุ่นของการผลิตมวลรวม
สาขาเกษตรต่องบประมาณรายจ่ายรัฐบาลเพื่อการวิจัยเกษตร ผลการประมาณค่าพบว่า พลังของรายจ่ายเพื่อ
การค้นคว้าวิจัยมีค่ามากกว่าผลของรายจ่ายเพื่อการเกษตรด้านอื่นๆต่อการผลผลิตประชาชาติสาขาเกษตร
หลังจากนั้นเมื่อน าค่าความยืดหยุ่นมาใช้จ าแนกแหล่งที่มาของอัตราการเติบโตทางภาคเกษตรกรรม ผล
การศึกษาสะท้อนว่า ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมานั้น รัฐบาลให้ความส าคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิตค่อนข้าง
น้อย ขณะทป่ีจัจยัการผลติดงั้เดมิยงัคงเป็นเคร่อืงยนตท์ ส่ีา คญั ในการขบัเคลื่อนอัตราการเติบโตภาคเกษตรไทย
อย่างไรกต็ามในระยะยาวการขยายตวัดา้นปจัจยัการผลติเหล่านัน้ ย่อมมขีอ้จ ากดัมาก ฉะนัน้ เพ่อืใหอ้ ตัราการ
เติบโตภาคเกษตรมีความยั่งยืน รัฐบาลควรเพิ่มการจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการค้นคว้าวิจัยทางการเกษตร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้นคว้าเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต The purpose of research was to study the driving force of research toward Thailand’s agricultural growth over the past 30 years. The study was begun with the estimation of elasticity of agricultural GDP with respect to government expenditure budgetary of agricultural research. The estimation result implied that the impetus of agricultural research budget was greater than the impacts of non-research budget on agricultural GDP. Afterward, they were utilized for decomposition of source of agricultural economic growth. It revealed that over the past 30 years the government paid less attention to enhance the total factor productivity. The conventional inputs empirically remained the crucial force in order to drive Thailand’s agricultural growth. In the long run their growth has been nonetheless limited.Therefore, for having the sustained agricultural growth the government budget ought to be increased allocation to agricultural research. Especially, these budgets should be devoted to the research for enhancing productivity. |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/5091 |
Appears in Collections: | Econ-Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jirawatj_J.pdf | 386.56 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.