Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรพรรณ ผิวผายth_TH
dc.contributor.authorกิตติกรณ์ นพอุดทพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorกุสุมา เทพรักษ์th_TH
dc.date.accessioned2024-04-09T08:48:27Z-
dc.date.available2024-04-09T08:48:27Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30182-
dc.descriptionProceedings of the First National Conference on Fine and Applied Arts (2018)th_TH
dc.description.abstractThis research purposed to 1) build creative drama activities for self-awareness skill development of homeless children in International Dek Kor Sang Center of Foundation for the Better Life and 2) develop their self-awareness skill. The process of building the creative drama activities, the author designed the activity in accordance with 8- learnings theory by Gagne in order to develop their self-awareness skill which will be the immunity to protect and relieve the violence of mental problems. The activities affect the adjustment of emotion, socialization, and learning of children and youth because these are the foundation for viewing their life and social and emotional abilities. They will be conscious of self-values. As Office of the Basic Education Commission has regulated the components of life skills that will increase the immunity of children in the changing society and prepare them for the future in 2008, the sample group was homeless children in International Dek Kor Sang Center of Foundation for the Better Life. According to the research, 1. Regarding the creative drama activities for self-awareness development and Rubin’s Self Esteem Scale, the self-values of children according to Theoretical Range of Scores are at the high level. 2. Regarding the creative drama activities for self-awareness skill development of homeless children in International Dek Kor Sang Center of Foundation for the Better Life, the mean of life skill in self-awareness is at 4.41 which is at the high level.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectCreative drama activities-
dc.subjectLife skill Development in Self-Awareness-
dc.titleกิจกรรมละครสร้างสรรค์พัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน ของเด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็กth_TH
dc.title.alternativeCreative Drama Activities for Self-Awareness and Life Skill Development of Homeless Children in International Dek Kor Sang Center of Foundation for the Better Lifeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.subject.keywordละครสร้างสรรค์th_TH
dc.subject.keywordทักษะชีวิตth_TH
dc.subject.keywordการตระหนักรู้ในตนth_TH
dc.subject.keywordเด็กเร่ร่อนth_TH
dc.subject.keywordมูลนิธิสร้างสรรค์เด็กth_TH
dc.description.abstractthaiการวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อสร้างกิจกรรมละครสร้างสรรค์พัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน ของเด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก 2) เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน ของเด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก ขั้นตอนการสร้างกิจกรรมละครสร้างสรรค์พัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตนของเด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติมูลนิธิ สร้างสรรค์เด็ก ผู้วิจัยออกแบบแผนกิจกรรมละครสร้างสรรค์ ตามรูปแบบทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้นของกาเย่ (Gagne) เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การตระหนักรู้ในตน ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันส่วนสําคัญในการป้องกันและบรรเทาความรุนแรงของปัญหาทางด้านจิตใจ โดยส่งผลต่อการปรับตัวทางอารมณ์ สังคม และการเรียนรู้สําหรับเด็กและเยาวชน เพราะเป็นพื้นฐานของการมองชีวิต ซึ่ง เกิดจากการเห็นคุณค่าแห่งตน โดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กําหนดองค์ประกอบสําคัญของทักษะชีวิตที่จะเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับ เด็กในสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและเตรียมความพร้อมสําหรับการปรับตัวของผู้เรียนในอนาคต กล่มุตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ เด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติมูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก ปีพุทธศักราช 2560 อายุ8-15 ปีจํานวน 10 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการทดลองหลังการเข้าร่วมกิจกรรมละครสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน จากแบบทดสอบแบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale แบบวัดความรู้สึกการเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี (Theoretical Range of Scores) มีเกณฑ์คะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองในระดับ “สูง” 2. ผลจากการทดลองกิจกรรมละครสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน ของเด็กเร่ร่อน ศูนย์เด็กก่อสร้างนานาชาติ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก จากแบบวัดทางทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตน มีค่าเฉลี่ยทางทักษะชีวิตการตระหนักรู้ในตนเท่ากับ 4.41 ซ่ึงอยู่ใน ระดับ “สูง”th_TH
Appears in Collections:PA-Conference papers

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PA-Pornpen-P.pdf6.62 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.